Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Bloom’s Taxonomy - Coggle Diagram
Bloom’s Taxonomy
แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับ
การวิเคราะห์( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้
การสังเคราะห์( Synthesis) สามารถนําส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่
การประยุกต์(Application)
การประเมินค่า ( Evaluation) วดั ได้และตัดสินได้วา่ อะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชด
ความเข้าใจ (Comprehend)
ความรู้ที่เกิดจากความจํา (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
จําแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ออกเป็น 3 ด้าน
ด้านพุทธพิสัย
ปรับปรุงใหม่ตามแนวคิดของ Anderson and Krathwohl (2001)
การเข้าใจ(Understanding)
การจํา(Remembering)
การประเมินผล (Evaluating)
การประยุกต์ใช(้Applying)
การวเิคราะห์(Analysing)
การสรา้งสรรค์(Creating)
การประเมิร
เป็นความสามารถในการตัดสินตีราคา หรือสรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งต่างๆ
ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตามเนื้อหาสาระในเรื่องนั่นๆหรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับก็ได้
การสังเคราะห์
ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อยๆเข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมี ระบบเพื่อใหเ้กิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม
อาจเป็นการถ่ายทอดความคิดออกมาใหผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกําหนดวางแผนวิธีการดําเนินงานขึ้นใหม่ หรืออาจจะเกิดความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในรูปแบบ หรือแนวคิดใหม่
การวิเคราะห์
ผู้เรียนสามารถคิด หรือแยกแยะเรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สําคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกียยวข้องกันความสามารถในการวเิคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน
การนำไปใช้
เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนําความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถนําไปใช้ได้
ความเข้าใจ
เป็นความสามารถในการจับใจความสําคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน
ขยายความหรือ การกระทําอื่นๆ
ความรู้
ความสามารถในการเก็บรกัษามวลประสบการณ์ต่างๆ จากการที่ได้รับ รู้ไว้และระลึกสิ่งนั่นได้เมื่อต้องการเปรียบดังเทปบันทึกเสียงหรือวิดีทัศน์ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต่างๆได้สามารถเปิดฟังหรือ
ดูภาพเหล่านั่นได้เมื่อต้องการ
ด้านจิตพิสัย (พฤติกรรมด้านจิตใจ)
การสร้างค่านิยม
การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั่น ๆ หรอืปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั่น
การจัดระบบ
การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับ อาจจะยอมรับค่า
นิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่า
การตอบสนอง
เป็นการกระทําที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม
และพอใจต่อสิ่งเร้านั่น ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว
การสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม
การนําค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจําตัว หป้ ระพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งจะเริ่มจากการได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม
การรับรู้
เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรอืสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั่นว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึ้น
ด้านทักษะพิสัย (พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท)
การหาความถูกต้อง
พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องแนะ เมื่อได้กระทำซ้ำ พยายามหาความรู้ในเรื่องปฏิบัติ
การกระทําอย่างต่อเนื่อง
หลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เป็นของตัวเองจะกระทําตามรูปแบบนั่นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง
คล่องแคล่ว การที่ผู้เรียนเกิดทักษะได้ ต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทำอย่างสม่ำเสมอ
กระทําตามแบบ หรือเครื่องชี้แนะ
เป็นพฤติกรรมที่ผู้เรียนพยายามฝึกตามแบบที่ตนสนใจ และพยายามทำซ้ำ
เพื่อที่จะห้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ได้ หรือสามารถปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
การกระทําได้อย่างเป็นธรรมชาติ
พฤติกรรมที่ได้จากการฝึกอย่างต่อเนื่อง จนสามารถปฏิบัติได้คล่องแคล่วโดยอัติโนมัต เป็นไปอย่างธรรมชาติซึ่งถือเป็นความสามารถของการปฏิบัติในระดับสูง
การรับรู้
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการปฏิบัติทีถูกต้อง หรือ
เป็นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ
เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ความรูสึก ทัศนคติค่านิยม หมายถึง เมื่อบุคคลได้เรียนรู้สิ่งใหม่ก็ทําใหผู้เรียนเกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ หมายถึง การที&บุคคลได้เกิดการเรียนรู้ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และเกิดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ความสมใจด้วยแล้ว ได้นําเอาสิ่งทีได้เรียนรูไ้ปปฏิบัติจึงทําใหเ้กิดความชำนาญมากขึ้นเช่น การใช้มือ เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ความเข้าใจ และความคิด หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทําใหผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่างๆได้มากขึ้นเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง
https://youtu.be/AGgAuPtK2lc