Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดเเย้ง, น.ส.บัณฑิตา ชูประเสริฐ ม…
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดเเย้ง
ความหมาย
ความขัดแย้งหมายถึงสภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่ายมีความคิดเห็นหรือความเชื่อไม่ตรงกันและยังไม่สามารถหาข้อยุติที่สอดคล้องกันได้
ความขัดแย้งระหว่างบุคคลหมายถึงความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไปซึ่งเกิดจากการมีค่านิยมความเชื่อทัศนคติและเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกัน
สาเหตุ
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
1.)ผู้สูงอายุกว่าปรับตัวไม่ทันความเจริญเติบโตของวัยรุ่น
2.)ภาพรวมของพ่อแม่ผู้ปกครองสมัยเมื่อเป็นวัยรุ่นย่อมแตกต่าง
จากภาพรวมของวัยรุ่นในปัจจุบัน
3.)ค่านิยมสภาพเศรษฐกิจสังคมความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
แบบแผนวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไป
4.)ผู้ใหญ่ใช้ความคิดความสามารถประสบการณ์
ความรู้ของตนเป็นมาตรฐานคาดหวังกับการกระทำของวัยรุ่น
5.)บรรยากาศในครอบครัวที่สมาชิกในบ้านมี
ความสัมพันธ์ต่อกันไม่ราบลื่น
6.)สภาพความเป็นวัยรุ่นที่รักความอิสระชอบท้าทายชอบทดลองหาประสบการณ์ใหมๆ
ผลของความขัดแย้งต่อวัยรุ่นและครอบครัว
1.)เกิดความสะเทือนอารมณ์
2.)ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ
3.)เป็นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกาย
4.)การขัดแย้งในครอบครัว
5.)ผลของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับพ่อแม่
เสียสุขภาพจิต
แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว
1.)พิจารณาถึงปัญหา
2.)การนัดหมายเวลา
3.)อธิบายถึงปัญหาและความต้องการของตนเอง
ให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบ
4.)ตรวจสอบความเข้าใจของอีกฝ่ายหนึ่ง
5.)เปิดโอกาส
6.)ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
7.)หาแนวทางที่จะจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างบุคคล
1.) ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก
ความคิดเห็นแตกต่างกัน
2.)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก
วิธีการคิดขัดแย้งกัน
3.)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก
การรับรู้แตกต่างกัน
4.)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก
ค่านิยมแตกต่างกัน
5.)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก
อคติของความรู้สึกส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่มีต่อบุคคลอื่นเป็นความรู้สึกในทางที่ไม่ดี
6.)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก
การขัดผลประโยชน์กัน
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
1.)การอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างกัน
2.)การมีผลประโยชน์ขัดกัน
3.)การมีอคติ
ผลของความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
ผลดี
1.)ตระหนักและรับรู้
2.)สร้างความรู้สึกร่วมในปัญหาที่เกิดขึ้น
3.)ก่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงพฤติกรรมซึ่งกันและกัน
4.)ช่วยเพิ่มวุฒิภาวะให้กับเยาวชน
5.)ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ผลเสีย
1.)สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลง
2.)เกิดการต่อต้านทั้งทางลับและเปิดเผย
3.)หากนักเรียนและเยาวชนเกิดการรวมตัวและใช้ความรุนแรง
ทะเลาะวิวาทเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสีย
4.)ผลกระทบด้านจิตใจ
5.)อาจทำให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมาภายหลัง
แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
1.)การเจรจา
2.)การใช้บุคคลที่สามมาเพื่อทำหน้าที่
ในการช่วยไก่เกลียข้อขัดแย้ง
3.)การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธีไม่ใช้ความรุนแรง
ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร
1.)ภาษาพูด
2.)ภาษาเขียน
3.)ภาษากายหรือการแสดงออก
-การสื่อสารโดยใช้ภาษากายคือการแสดงออกทางกริยาอาการสีหน้าท่าทางสายตาการสัมผัสและทุกอย่างที่เห็นหรือได้ยิน
การสื่อสารที่สร้างสรรค์โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสารอย่างสันติมีวิธีมีทางเลือกที่จะสื่อสารได้3ทางคือ
1.)เข้าใจตนเองว่ารู้สึกและต้องการอะไร
2.)สื่อสารให้ผู้อื่นรับรู้ความรู้สึก
และความต้องการที่แท้จริงของเราอย่างจริงใจโดยไม่ตำหนิหรือกล่าวโทษผู้อื่น
3.)เข้าใจคนอื่นอย่างจริงใจทั้งในเรื่องที่เราเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยโดย
ไม่ต้องยอมตามหรือประนีประนอมถ้าใจเราไม่เห็นด้วย
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพและทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษาในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
1.)การเปิดเผยตนเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
2.)การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
3.)ความไว้วางใจ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
1.)ทักษะการฟัง
2.)ความใส่ใจ
3.)การทวนเนื้อความ
4.)การสะท้อนความรู้สึก
การประเมินสถานการณ์เพื่อเข้าใจปัญหา
ประเมินสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
1.)ความขัดแย้งมาก
2.)ความขัดแย้งระดับปานกลาง
3.)ความขัดแย้งระดับน้อย
ประเมินโดยการเปรียบเทียบ
1.)การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
2.)ต้องปฏิบัติต่อผู้อื่นเช่นเดียวกับที่ต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อเรา
3.)ลองสวมบทบาทเป็นอีกฝ่าย
ประเมินโดยการสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองของผู้อื่น
น.ส.บัณฑิตา ชูประเสริฐ ม.6/1 เลขที่ 36