Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาโรคเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย - Coggle Diagram
การรักษาโรคเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย
การวินิจฉัย
ประวัติอาการที่มี
ตำแหน่งของการปวด
ลักษณะของการปวด
การเปลี่ยนแปลงของลักษณะการปวด
อาการปวดร้าว และปวดไปที่อื่น
อาการร่วมต่างๆ เช่น อาเจียน ท้องเสีย
ประวัติอื่นๆ เช่น ประจำเดือน การเจ็บป่วยใน
อดีต ครอบครัว
การตรวจร่างกาย
Vital signs
General appearance
Inspection
Auscultation
Palpitation
Percussion
Rectal and pelvic examination
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Complete blood count (CBC)
Urinalysis
Serum/urine amylase
Serum electrolyte
Liver function test
Diagnostic peritoneal larrvage
การตรวจทางรังสี
Plain film abdomen
Ultrasound
CT scan
Barium study
Endoscopy
angiography
Acute abdominal
ภาวะที่ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง และเกิดขึ้นค่อนข้างรวดเร็วหรือมักจะน้อยกว่า 24ชม.
รูปแบบของความเจ็บป่วยในทางเดินอาหารส่วนล่าง
การเจ็บป่วยเฉียบพลัน
กลุ่มอาการที่ลำไส้บีบรัดตัวมากกว่าปกติหรืออุดตัน เช่น ปวดท้อง ถ่ายบ่อย หรือถ่ายเป็นเลือด
การเจ็บป่วยวิกฤต
มักเกิดจากอุบัติเหตุ
ส่วนการเจ็บป่วยเรื้อรัง
กลุ่มอาการที่ลำไส้บีบรัดตัวน้อยกว่าปกติเช่น ท้องผูก ฝี ไส้เลื่อน ลำไส้โป่งเป็นถุง
อาการปวดท้อง (Acute abdomen, abdominal pain)
Visceral pain
มาจากการกระตุ้นอวัยวะภายใน โดยทั่วไปอาการปวดจะอยู่ในแนวกลางตัว บอกตำแหน่งไม่ได้ชัดเจน
การประเมินอาการปวด
อาการปวดเริ่มจากน้อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆช้าๆ และทุเลาเองช้าๆ เช่นกัน
โรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือ acute gastroenteritis
เป็นอาการปวดที่มากและเฉียบพลัน
peptic perforation
มีอาการปวดเป็นๆ หายๆ ที่ความปวดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นอยู่สักครู่แล้วอาการดีขึ้นเอง
intestinal colic หรือ biliary colic
อาการปวดท้องมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างช้าๆ โดยอาการไม่ดีขึ้นเลย
acute cholecystitis หรือ acute appendicitis
ตำแหน่ง เช่นปวดบริเวณท้องน้อยด้านขวา
acute
appendicitis
Somato-parietal pain
การกระตุ้น parietal peritoneum ซึ่งมักเกิดจากการมีเนื้อเยื่อบาดเจ็บหรืออักเสบในตำแหน่งนั้นๆมักจะระบุตำแหน่งที่ปวดได้ชัดเจน
Refered pain
เป็นการปวดที่ผิวหนังที่ไม่ได้อยู่ติดกับอวัยวะต้นกำเนิด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทั่วไป
ดูว่าหน้าท้องโป่งตึงหรือไม่ มีแผล หรือ รอยเลือดออกหรือไม่ รวมถึง visible peristalsis
ฟัง Bowel sound
การเคาะ
การคลำหรือกด
การตรวจภายในช่องคลอด หรือทวาร
หนัก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ การตรวจทางรังสี (X-ray Abdomen)
คลื่นความถี่สูง(Ultrasound)
หรือ(Computerized tomography-CT)
การตรวจอื่นๆ
Endoscopic retrograde cholangiography (ERCP),
Pertitoneal lavage , laparoscope แพทย์จะทำเมื่อมีข้อบ่งชี้ชัดเจน
เนื่องจากต้องมีการเจาะ หรือ ผ่าตัด
การพยาบาล
บรรเทาอาการปวดให้กับผู้ป่วย
ประเมินภาวะน้ำและเกลือแร่
รวมทั้งช่วยแพทย์ในการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดเพื่อให้ได้รับการแก้ไขปัญหาที่สาเหตที่แท้จริง