Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ, นางสาวเบญจพร สืบทอง…
หน่วยที่1
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ความหมาย
ประเทศไทย : ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
และมีสัญชาติไทย
ในการประชุมสมัชชาโลกเรื่องผู้สูงอายุที่กรุงเวียนนา : ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปทั้งชายและหญิง
WHO : ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
สหรัฐอเมริกา : ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป
ประเภท
:
WHO
1.ผู้สูงอายุ (Elderly) 60-74ปี
2.คนชรา (Old) 75-90ปี
3.คนชรามาก (Very Old) 90ปีขึ้นไป
American nurse association
2.ผู้สูงวัยกลาง (old-old) 75-84ปี
1.ผู้สูงวัยต้น (yong old) 65-74ปี
3.ผู้สูงวัยปลาย (thy very old) 85ปีขึ้นไป
ฮอลล์ 4 ประเภท
4.การสูงอายุตามสภาพสังคม (Socialogical Aging)
1.การสูงอายุตามวัย (Choronological Aging)
3.การสูงอายุตามสภาพจิตใจ (Psychological Aging)
2.การสูงอายุตามสภาพร่างกาย (Biological Aging)
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย
3.วัยสูงอายุมาก (old-old) 80ปีหรือมากกว่า
1.วัยสูงอายุตอนต้น (yong old) 60-69ปี
2.วัยสูงอายุตอนกลาง (medium old) 70-79ปี
เกณฑ์ความสามารถ
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ดี
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ตามการจำแนกความช่วยเหลือที่สังคมควรจัดให้
กลุ่มติดสังคม
กลุ่มติดบ้าน
กลุ่มติดเตียง
ตามการมีโรค
ผู้สูงอายุที่แข็งแรง (healthy elderly)
ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง (frailty หรือ frail elderly)
การพึ่งพาผู้สูงอายุ
ไม่ต้องพึ่งพาเลย (totally independence)
พึ่งพาบางส่วน (partially dependence
แบ่งตามมิติของการให้บริการสุขภาพ
ผู้สูงอายุสุขภาพดี (healthy/ well elderly)
ผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังหรือมีภาวะทุพพลภาพ (disability elderly)
ผู้สูงอายุหง่อม งอม บอบบาง (frail elderly)
การเพิ่มประชากรผู้สูงอายุไทย
พ.ศ.2513 เพิ่ม 4.9%
(ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (complete age society)
ปัจจุบัน พ.ศ.2560 มีประชากรสูงอายุ 11.3ล้านคน =17.14%
คาดว่าปี2571 อายุเกิน60ปี 23.5%
พ.ศ.2543 มีประชากรสูงอายุ 9.1%
พ.ศ.2533 เพิ่ม 7.3%
ระดับสังคมสูงอายุ
3.ระดับสังคมอุดมไปด้วยผู้สูงอายุ (Super-aged society)
สัดส่วนประชากรอายุ 65ปีขึ้นไปมากกว่า20%ของประชากรโดยรวมทั้งประเทศ
2.ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete Aged society)
สัดส่วนประชากรอายุ 60ปีขึ้นไปมากกว่า20%ของประชากรโดยรวมทั้งประเทศ
สัดส่วนประชากรอายุ 65ปีขึ้นไปมากกว่า14%ของประชากรโดยรวมทั้งประเทศ
1.ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing society หรือ Aging society)
สัดส่วนประชากรอายุ 60ปีขึ้นไปมากกว่า10%ของประชากรโดยรวมทั้งประเทศ
สัดส่วนประชากรอายุ 65ปีขึ้นไปมากกว่า7% ของประชากรโดยรวมทั้งประเทศ
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดภาวะประชากรชรา
ความก้าวหน้าทางการแพทย์
ชายไทย 73.2ปี
หญิงไทย 80.4ปี
ความสำเร็จจากนโยบายการคุมกำเนิด
ผลกระทบ
การมีสัดส่วนประชากรเพิ่มสูงขึ้น
พ.ศ.2533 วัยแรงงาน10คน ดูแลผู้สูงอายุ1คน
พ.ศ.2563 วัยแรงงานที่ดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
พ.ศ.2506-2526 เกิดประชาชนรุ่นเกิดล้าน 30-50ปี
แหล่งรายได้จากบุตรลดลงร้อยละ52ในปี2550เหลือร้อยละ40 ในปี2554
การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของประชากร
องค์ประกอบด้านเพศ : หญิงสูงกว่าชาย
สถานภาพสมรส : โสด หย่า แยก มีจำนวนเพิ่มขึ้น
การศึกษา : มีระดับที่สูงขึ้น
บทบาทต่อสังคม : เป็นประโยชน์ต่อสังคม
บทบาทการดูแล
พยาบาล
บำบัดรักษา
ปฏิบัติ
ให้การศึกษา
นักวิจัย
ให้คำปรึกษา
พิทักษ์สิทธิ์
คิดค้นสิ่งใหม่
ผู้ดูแล
ผู้ดูแลรอง
อผส.
ผู้ดูแลหลัก
ครอบครัว
ด้านจิตวิญญาณ
ด้านสังคม
ด้านจิตใจ
ด้านร่างกาย
เกื้อหนุน
นางสาวเบญจพร สืบทอง 621201131