Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุบัติเหตุ - Coggle Diagram
น้ำร้อนลวก
-
แนวทางแก้ไข
น้ำร้อนลวกระดับที่ 1
-
ล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติ หรือเปิดน้ำให้ไหลผ่าน ประมาณ 15-20 นาที หรือจนกว่าอาการปวดแสบปวดร้อนจะลดลง อาจใช้สบู่อ่อน ๆ ชะล้างสิ่งสกปรกออกไปก่อนและล้างด้วยน้ำสะอาด
น้ำร้อนลวกระดับที่ 2
ให้ล้างแผลหรือแช่แผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติด้วยวิธีดังที่กล่าวมา ใช้ผ้าสะอาดซับให้แห้ง ทาด้วยยา (ถ้ามี) แล้วใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
-
น้ำร้อนลวกระดับที่ 3
เนื่องจากเป็นบาดแผลที่มีขนาดลึก ซึ่งอาจทำให้มีอันตรายร้ายแรงได้ จึงควรรีบนำส่งผู้ป่วยไปรักษาที่โรงพยาบาลโดยเร็ว
สถานการณ์ของโรค
จากการสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ.2555
-2556 โดยกลุ่มสถิติแรงงานสำนักเศรษฐกิจและสังคมสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบ ผู้ที่ถูกไฟ/น้ำร้อนลวก เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.6 เป็นร้อยละ 3.6
ไฟช็อต
-
แนวทางแก้ไข
-
หากกระแสไฟฟ้ายังทำงานอยู่ ควรใช้ไม้กวาด เก้าอี้ ผ้าผืนใหญ่ หรือพรมเช็ดเท้า ช่วยดันตัวผู้ที่ถูกไฟช็อตให้ออกห่างจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
-
ควรเตือนและสอนเด็กให้เห็นถึงอันตรายจากการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ถูกต้อง และดูแลไม่ให้เด็กเล่นซนบริเวณที่เสี่ยงเกิดไฟช็อตได้
-
-
สถานการณ์ของโรค
ช่วงปี 2545-2549
โดยสํานักระบาดวิท ยา กรมควบคุมโรคพบทั่วประเทศมีแนวโน้มการบาดเจ็บสูงขึ้นเรื่อยๆ จาก 9,128 รายในปี2545 เป็น 12,692 ราย
ตกบันได
-
แนวทางแก้ไข
ฟกช้ำ เขียวบวม
- ประคบเย็นก่อน 24 ชั่วโมง โดยผ้าชุบน้ำเย็น
-
แผลถลอก
ควรล้างแผลให้สะอาดด้วย น้ำกับสบู่แล้ว ซับแผลให้ แห้งด้วยผ้าสะอาด หากมีเลือดไหลให้กดบาดแผล ด้วยผ้าที่สะอาด
-
-
จมน้ำ
-
แนวทางแก้ไข
-
ควรทำซีพีอาร์ให้แก่ผู้ที่จมน้ำทันทีในกรณีที่หยุดหายใจ โดยผายปอดและปั๊มบริเวณทรวงอก เพื่อช่วยให้เลือดลำเลียงออกซิเจนได้มากขึ้น
-
-
-
-
ทางจราจร
-
-
สถานการณ์ของโรค
ปี พ.ศ 2563
มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากการจราจรทางถนน 15,744 ราย บาดเจ็บ 1,014,276 ราย ทุพพลภาพ 195 ราย
ปี พ.ศ 2562
มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากการจราจรทางถนน 10,726 ราย บาดเจ็บ 428,528ราย ทุพพลภาพ 1,839ราย