Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติทางอายุรกรรม 7.5 โรคเลือดในสตรีตั้ง…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติทางอายุรกรรม
7.5 โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์
7.5.5 ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO
(ABO Incompatibility)
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO เป็นหนึ่งสาเหตุของ hemolytic disease ของทารก
แรกเกิด
อาการและอาการแสดง
อาการตัวเหลือง
อาจพบตับโต หากไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ kernicterus
ภาวะแทรกซ้อน
จะเสียชีวิตประมาณ 75 %
ที่รอดชีวิตมักเกิด
mental retard หรือ develop paralysis or nerve deafness
แนวทางการรักษา
หากรุนแรงอาจต้องเปลี่ยนถ่ายเลือดในระหว่างการ
ตั้งครรภ์
หากอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไป การรักษาที่ดีที่สุดคือ การกระตุ้นให้คลอด
พยาธิสรีรภาพ
ภาวะนี้มักเกิดกับมารดาที่มีกลุ่มเลือด O และทารกหมู่เลือด A
หรือ B
เม็ดเลือดแดงของทารกจะผ่านเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา
เป็นหมู่เลือด A จะมี antigen A บนเม็ดเลือดแดงของลูก ไปกระตุ้นให้มารดาสร้าง antibody ทำให้มี
antibody มาก
การพยาบาล
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป รวมถึงการรักษา
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
พบเฉพาะ
ในแถบประเทศตะวันตก
เนื่องจาก anti-A และ anti-B จะมี
ความแรงมากกว่าคนเอเชีย (Asian) และคนผิวขาว (Caucasian)
7.5.7 โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
โรคธาลัสซีเมีย (thalassemia) เป็นโรคผิดปกติทางพันธุกรรมของเม็ดเลือดที่พบบ่อยมากที่สุดใน
ประเทศไทย พบได้ร้อยละ 20 ถึง 30 ของประชากรไทย
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลต่อทารก
เกิดภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
กเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจนในระยะคลอด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate)
มีอาการซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง มีการเจริญเติบโตเกือบเหมือนคนปกติ
เมื่อมีไข้ติดเชื้อ
จะทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย เกิดอาการซีดอย่างรวดเร็ว
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major)
เสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือเสียชีวิต
ไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
กลุ่มที่ไม่มีอาการ (thalassemia minor)
ไม่มีอาการแสดง แต่อาจมีฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
แนวทางการรักษา
การให้ยาขับเหล็ก ให้ในรายที่ได้รับเลือดมากกว่า 10-20 ครั้ง
การให้เลือด เพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะซีด
การตัดม้าม จะทำในรายที่มีอาการปานกลางถึงรุนแรงที่ม้ามโตจนเกิดการกดเบียด
ทางเลือกของคู่สมรสที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดที่รุนแรง
ไม่มีลูกของตนเอง
ยอมเสี่ยงที่จะมีลูกที่เป็นโรค
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การให้ความรู้คำแนะนำเกี่ยวกับ สาเหตุอาการ การดำเนินของโรค การรักษา และการควบคุมป้องกันโรค
สาเหตุ
ความผิดปกติทางปริมาณ
มีการสร้าง globin สายใดสายหนึ่งลดลงหรือไม่สร้างเลย
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
มีการเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวของ amino acid บน
polypeptide chain ทำให้เกิด Hb ที่ผิดปกติ
การพยาบาล
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนำ
ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อไปหรือยุติการตั้งครรภ์
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์และ
ครอบครัวลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือในการรักษา
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์
ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และ
ครอบครัว
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัดกรองหาพาหะธาลัสซีเมีย
เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
7.5.6 ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh
(Rh Incompatibility)
อาการและอาการแสดง
ทารกมีhemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีดมาก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
Rh เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มีเม็ดเลือดแดง พบในคนผิวขาวร้อยละ 85 และร้อยละ 95 พบในคนผิวดำ
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization
(Rh Isoimmunization)
เกิดการสร้าง antibodies ซึ่ง antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์ และ antibodies เหล่านี้จะไปจับและทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์
2.2 ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ หากไม่พบว่ามี antibodies ควรให้ RhoGAMเพื่อป้องกันการสร้าง antibodies
2.3 ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา จะช่วยลดความกลัวและ
ความวิตกกังวลได้
บอกให้ทราบถึงผลของ RhoGAM ว่าไม่มีผลใดๆ ต่อมารดาและทารก
2.1 การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ เพื่อตรวจหาหมู่เลือด Rh typing
พยาธิสรีรภาพ
เกิดการสร้าง antibodies ในแม่ซึ่ง antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์ และ antibodies เหล่านี้จะไปจับและทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
neonatal anemia
hydrops fetalis
ตับและม้ามโต
hyperbilirubinemia
kernicterus
dead fetus in uterus
still birth