Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 อุปสงค์ อุปทาน และดุลภาพ - Coggle Diagram
บทที่2 อุปสงค์ อุปทาน และดุลภาพ
1.อุปสงค์ หมายถึง ปริมาณเสนอซื้อสินค้าและบริการชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการจะซื้อณระดับราคาต่างๆในเวลาที่กาหนด
การเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์
1.การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Changes in Quantity Demand) การที่ตัวกำหนดอุปสงค์โดยตรง คือ ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป ตัวกาหนดโดยอ้อมอื่นคงที่ การเปลี่ยนแปลงเป็นการย้ายจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง บนเส้นอุปสงค์เดิม
2,การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์(Shift in Demand Curve ) การที่ตัวกำหนดอุปสงค์โดยอ้อม เปลี่ยนแปลงทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลง ณ ระดับราคาเดิม อุปสงค์เพิ่มขึ้น เส้นอุปสงค์ย้ายไปทางขวาแสดงว่าปริมาณซื้อเพิ่ม
ประเภทของอุปสงค์
กฎของอุปสงค์ ปริมาณเสนอซื้อสินค้าและบริการชนิดใดแปรผกผัน(inverse relation) กับระดับราคาของสินค้าและบริการนั้น
• P เพิ่ม → Qลด • P ลด → Q เพิ่ม
ชนิดของอุปสงค์
• อุปสงค์ต่อรายได้ -ระดับอุปสงค์ของสินค้าปกติ (normal goods)จะเพิ่มขึ้น ถ้ารายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น
-ระดับอุปสงค์ของสินค้าด้อยคุณภาพ (inferior goods ) จะลดลงถ้ารายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น
• อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complement) หมายถึงสินค้าชนิดหนึ่งที่ใช้บริโภคร่วมกับสินค้าอีกชนิดหนึ่ง
สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Substitute) หมายถึงสินค้าซึ่งสามารถใช้บริโภคทดแทนสินค้าอีกชนิดหนึ่งได้
• อุปสงค์ต่อราคา คือพิจารณาราคากับปริมาณเสนอซื้อ
อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด
• อุปสงค์ส่วนบุคคล : ปริมาณเสนอซื้อของผู้บริโภคแต่ละคน ณ ระดับต่าง ๆ กันของตัวแปรที่กาหนดปริมาณเสนอซื้อ
• อุปสงค์ตลาด : ปริมาณเสนอซื้อสินค้าชนิดหนึ่ง ณ ระดับต่าง ๆ กันของตัวแปรที่กาหนดปริมาณเสนอซื้อ ของผู้บริโภคทุกคนในตลาด
2.อุปทาน อุปทานหมายถึงปริมาณเสนอขายสินค้าชนิดหนึ่ง ในช่วงเวลาหนึ่ง ณระดับต่างๆ กันของ ราคาสินค้า ชนิดนั้น
3.ดุลยภาพตลาด
อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานตลาด
• อุปทานส่วนบุคคล : ปริมาณเสนอขายของผู้ขายแต่ละราย ณ ระดับต่าง ๆ กันของราคาสินค้า
• อุปทานตลาด : ปริมาณเสนอขายสินค้าชนิดหนึ่ง ณ ระดับต่าง ๆ กันของราคาสินค้า ของผู้ขายทุกคนในตลาด
ดุลยภาพ หมายถึง สภาวะที่แรงซึ่งกระทาในทิศทางตรงกันข้ามอยู่ในภาวะสมดุลในตลาดสินค้าและบริการ แรงกระทาในทิศทางตรงกันข้าม ก็คืออุปสงค์ และอุปทาน
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
ราคาสินค้าชนิดนั้น ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง รายได้ของผู้บริโภค
รสนิยมของผู้บริโภค การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต จำนวนประชากร ฤดูกาล
การเปลี่ยนแปลงในอุปทาน
1.การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (Changes in Quantity Supplied) เกิดจากราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง ทำให้จานวนขายเปลี่ยนแปลง เป็นการย้ายจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง บนเส้น อุปทานเดียวกัน
2.การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน(Shift in Supplied Curve) เกิดจากตัวกพหนดโดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัวเปลี่ยนแปลง ทำให้ปริมาณขายเปลี่ยนแปลง ณ ระดับราคาเดิม อุปทานเพิ่ม เส้นอุปทานย้ายไปทางขวา
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
ราคาสินค้าชนิดนั้น ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง ราคาปัจจัยการผลิต จำนวนผู้ผลิตในตลาด การคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต เทคนิคที่ใช้ในการผลิต
กฎของอุปทาน
• ปริมาณเสนอขายสินค้าและบริการชนิดใดแปรผันโดยตรง กับระดับราคาของสินค้าและบริการนั้น
• P เพิ่ม → Qเพิ่ม • P ลด → Q ลด
ราคาในตลาดทาให้การวางแผนการซื้อขายสินค้าสอดคล้องกัน
อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพตลาดจะกาหนดว่าควรผลิตอะไร ผลิตอย่างไรและผลิตเพื่อใคร
ระดับอุปสงค์และอุปทานในตลาดสินค้า บริการและปัจจัยการผลิตเป็นตัวกาหนดปริมาณและราคาในตลาด
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
ความยืดหยุ่น คือ เป็นค่าที่ใช้วัดความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลง ของตัวแปรตาม ต่อการเปลี่ยนแปลงตัวแปรนำ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (point elasticity)Ed = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา, ΔP = ส่วนเปลี่ยนของปริมาณซื้อ, ΔQ = ส่วนเปลี่ยนของราคา, Q = ปริมาณซื้อ, P = ราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา(Price Elasticity) หมายถึง เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าEd=Δ Q% / Δ P%
-ถ้า%Δ Q มากกว่า%Δ Pอุปสงค์มีความยืดหยุ่นมาก
-ถ้า%Δ Q น้อยกว่า%Δ Pอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อย
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Income Elasticity) หมายถึง เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า Ed=Δ Q% / Δ P%
-ถ้า%Δ Q มากกว่า%Δ Pอุปสงค์มีความยืดหยุ่นมาก
-ถ้า%Δ Q น้อยกว่า%Δ Pอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อย
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
ปัจจัยที่มีส่วนกาหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
1.ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิต
2.ความยากง่ายในการหาปัจจัยการผลิต
3.ความยากง่ายในการเข้าออกจากอุตสาหกรรม
การเข้าออกง่ายในอุตสาหกรรม อุปทานจะมีความยืดหยุ่นสูง
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา หมายถึง เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายต่อเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
Ed=Δ Q% / Δ P%
-ถ้า%Δ Q มากกว่า%Δ Pอุปทานมีความยืดหยุ่นมาก
-ถ้า%Δ Q น้อยกว่า%Δ Pอุปทานมีความยืดหยุ่นน้อย
ค่าที่ได้มี ค่าเป็น บวก (การเปลี่ยนแปลง P Q ไปในทิศทางเดียวกัน)