Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ, Link Title - Coggle Diagram
การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ
ผูู้ป่วยโรคหัวใจ
ขอแนะนำสำหรับผูปวยโรคหัวใจในการเดินทางทางอากาศคือควรมี
ยาโรคหัวใจพร้อม
ผููป่วยที่ผ่าตัดตัอเส้นเลือกเลี้ยงหัวใจ (CORONARY ARTERYBYPASS)ไมควรเดินทางภายใน 2 อาทิตย
อากาศยานที ใช้ในการลำเลียง
เครื่องบิน (fixed-wing transportation) เช่น บ.ล.๘ (C-130H
เฮลิคอปเตอร (Helicopter transportation)
วัตถุประสงค์
เพื่อนำผู้ปาวยไปรับการตรวจพิเศษบางประการ
เพื่อนำผู้ป่วยระยะพักฟื้นกลับหน่วยต้นสังกัดภูมิลำเนาเดิม
เพื่อนำผู้ป่วยไปรักษาขั้นต่อไป
โดยยึดหลัก การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาสจะต้องไม่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการทรุดลงไปกว่าเดิม
ผูู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถเดินทางทางอากาศได้แต่ควรควบคุมและรักษาความดันโลหิต
สูงก่อน
ความเครียดจากการบิน
Fatigue
Vibration
Humidity Deficit
Temperature
Gravitational and Acceleration Forces
Noise
Altitude/Barometric Pressure Changes
Hypoxia
หลักปฏิบัติภารกิจลำเลียงผู้ป่ วยทางอากาศ
วิธีดำเนินการขณะบิน (INFLIGHT PROCEDURES)
การใหอาหารระหว1างบิน (In-flight feeding)
แบบฟอรRมที่ใชในการลำเลียงผูู้ป่วยทางอากาศ (Aeromedical
evacuation documentation)
สิ่งที่ควรระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย (Safety alertness)
เหตุผิดปกติในการลำเลียง (Unusual occurrences in-flight)
วิธีดำเนินการหลังบิน (POSTFLIGHT PROCEDURES)
การจัดเก็บพัสดุและอุปกรณR (Supplies and equipment)
การส1งรายงาน
การติดต1อประสานกับเจ้าหน้าที่หน1วยแพทยRปลายทาง
วิธีดำเนินการก่อนบิน (PREFLIGHT PROCEDURES)
วางแผนปฏิบัติการลำเลียงผูปวยทางอากาศ (Mission planning)
วางแผนการจัดบรรทุก (Positioning plan)
ประเมินผูปวยก1อนบิน (Preflight assessment)
เตรียมเพื่อติดตั้งเปลผูปวย (Converting the aircraft)
นำผูู้ป่วยขึ้นและลงอากาศยาน (Enplaning and deplaning)
สมุดคู1มือการลำเลียงผูู้ป่วยทางอากาศ (Check list)
บรรยายสรุปการลำเลียงผูู้ป่วยทางอากาศ (Aeromedical airlift)
การจัดประเภทผูู้ปวย (Patient Classification)
ประเภท3 ได้แก่ผู้ป่วยนั่งที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคจิต
ประเภท4 ได้แก่ ผู้ป่วยนั่งไม่ต้องให้การ
ประเภท2ผูู้ป่วยนอนเปลทั้งหมดที่ไม่ใช่ผูู้ป่วยโรคจิต
2 ก. (Class IIA) ได้แก่ ผูู้ป่วยนอนเปลที่ไม่สามารถ
เคลื่อนไหวไดดวยตนเองและไมสามารถชวยเหลือตนเองได้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
:
2 ข. (Class IIฺB) ผู้ป่วยนอนเปลที่สามารถเคลื่่อนไหวได้ด้วยตัวเอง
ประเภท 1 (Class I) ผูู้ป่วยโรคจิตทั้งหมด
1 ค. (Class IC) ผูู้ป่วยโรคจิตที่ไม่มีอาการทางจิต
ไว้ใจได้ให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลจัดเป็นผูู้ป่วยนั่ง
1 ก. (Class IA) ได้แก่ผู้ป่วยวยที่มีอาการทางจิตที่รุนแรง
1ข.(ClassIB )ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการประสาทปานกลางต้องได้รับยาระงับประสาท
หลักการเบื้องต้นของการลำเลียงผู้ป่วยทางกากาศ
สามารถช่วยชีวิตมนุษย์ได้ไม่ว่าผู้นั้นจะอยู่ห่างไกลเพียงใด ทุรกันดารแค่ไหน ทั้งในยามปกติ ยามฉุกเฉินหรือยามสงครามทั้งทหารและพลเรือน
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทางอากาศภายใต้การดูแลรักษาพยาบาลของเจ้าหน้าที่ชุดลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ
การจัดอันดับความเร่งด่วนในการลำเลียง (Movement
Precedence)
อันดับ 2 (Priority)
อันดับ 3 (Routine)
อันดับ 1 (Urgent)
แนวทางการพิจารณาทางการแพทยในการเดินทางทางอากาศ
ความเปลี่ยนแปลงความกดดันบรรยากาศ
ผลจากความชื้นของอากาศลดลง
ผลจากการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
ภาวะพร่องก๊าซออกซิเจน (HYPOXIA)
ผลจากการเคลื่อนไหวของอากาศยาน
ผลจากการเปลี่ยนแปลงเวลาและสถานที่
เด็กและทารกควรรอให้เด็กทารกมีอายุเกิน 1 อาทิตย ก่อนที่จะโดยสารทาง
เครื่องบิน
สตรีที่มีอายุครรภเกินกว่า 36 อาทิตย์หรืออยู่ในช่วง 4
อาทิตยก่อนครบกำหนดคลอด จึงไม่ควรเดินทางโดยเครื่องบิน
ผูู้ป่วยที่มีการติดเชื้อร้ายแรง อาจกระจายไปสู่ผู้โดยสารอื่นได้
โรคมีลมคั่งในช่องปอด (PNEUMOTHORAX)ไม่สามารถทำการบินได้นอกจากใส่ท่อระบายลมออกจากปอดก่อน
Link Title