Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุบัติเหตุ, กลุ่ม A4
นางสาว กมลพรรณ เรืองศรี รหัสนักศึกษา 61102301005
…
อุบัติเหตุ
จากการเดินทาง
ทางบก
-
แนวทางป้องกัน
6) การเดินถนน ควรเดินบนทางเท้า และเดินชิดขวา ถ้าเดินบนถนนที่ไม่มีทางเท้า ให้เดินในด้านที่มองเห็นรถวิ่งสวนมาทุกครั้ง
5) ผู้ที่โดยสารรถจักรยานยนต์ รถยนต์ส่วนตัว และรถประจำทาง ไม่ควรยื่นอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายออกจากรถ
-
2) ต้องสวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่ หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ คาดเข็มขัดนิรภัยเมื่อใช้รถยนต์ และรักษากฎจราจรอย่างเคร่งครัด
8) การข้ามถนน ควรใช้สะพานลอยหรือข้ามตรงทางม้าลาย ในกรณีที่ไม่มีสะพานลอยหรือทางม้าลาย ควรข้ามถนนโดยดูทั้งทางด้านขวา-ซ้าย-ขวา ก่อนข้ามเสมอ
-
-
9) อย่าข้ามถนนโดยออกจากที่กำบังตัวอย่างกะทันหัน เช่น ออกจากซอย ออกจากท้ายรถที่จอดอยู่ เสาไฟฟ้า ตู้โทรศัพท์ เพราะอาจจะเกิดอันตรายได้
10) ดูแลรักษา แก้ไข ปรับปรุง สภาพถนน สัญญาณไฟ เครื่องหมายจราจร และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ให้อยู่ในสภาพที่มีความปลอดภัยต่อการจราจร
-
แนวโน้ม
ปี 2561 มีจำนวนประชากรเสียชีวิตจากการจราจรบนท้องถนน 10,526 ราย บาดเจ็บ 394,588 ราย ทุพพลภาพ 2,091 ราย
ปี 2562 มีจำนวนประชากรเสียชีวิตจากการจราจรบนท้องถนน 10,726 ราย บาดเจ็บ 428,528 ราย ทุพพลภาพ 1,839 ราย
ปี 2560 มีจำนวนประชากรเสียชีวิตจากการจราจรบนท้องถนน 10,559 ราย บาดเจ็บ 376,129 ราย ทุพพลภาพ 1,629 ราย
พ.ศ. 2563 มีจำนวนประชากรเสียชีวิตจากการจราจรบนท้องถนน 15,744 ราย บาดเจ็บ 1,014,276 ราย ทุพพลภาพ 195 ราย
ทางน้ำ
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
1.ผู้ขับเรือ
- ฝ่าฝืนกฎหมาย เช่น ขับเรือด้วยความเร็ว
- ผู้ขับเรือมีสุขภาพไม่สมบูรณ์ หรือพิการ
- ขาดความระมัดระวังในการขับเรือ หรือข้นเรือด้วยความคึกคะนอง
- ผู้ขับเรือเมาสุราหรือเสพสิ่งเสพติดเข้าไป ขณะขับเรือ
- ขาดความรู้ความสามารถ หรือความเชี่ยวชาญในการขับเรือ
- สภาพจิตใจที่ไม่เป็นปกติของผู้ขับเรือ
3.สภาพแวดล้อม
- สภาพของเรือ เรือที่มีสภาพใช้งานไม่ได้ ชำรุดทรุดโทรม เรือรั่ว
- สภาพดินฟ้าอากาศ สภาพภูมิอากาศที่ไม่แน่นอน ฝนตกหนัก หมอกลงจั
- สภาพของแม่น้ำลำคลอง ทะเล หรือมหาสมุทร ไม่เอื้ออำนวยต่อการเดินทาง
- การบรรทุกเรือ การบรรทุกคนโดยสาร หรือสิ่งของเกินอัตราที่กำหนดไว้ หรือบรรทุกไม่ถูกต้อง
-
แนวทางแก้ไข
-
5.ผู้ขับเรือด้วยความระมัดระวัง เช่น ลดความเร็วเมื่อขับถึงใกล้ฝัง ระมัดระวังขณะที่เรือลำอื่นแล่นผ่านสวนทางมา
6.ผู้ใช้เรือควรระมัดระวังในการใช้ หรือโดยสารเรือ เช่น ขับเรือด้วยความไม่ประมาท ปฏิบัติการจราจรทางน้ำ
- ก่อนที่จะนำเรือออกวิ่ง ผู้ขับเรือควรตรวจสอบสภาพการใช้งานของเรือทุกครั้ง และหมั่นตรวจสอบสภาพเรือ และเครื่องจักรสม่ำเสมอทุกๆ ปีด้วย
- ผู้ใช้เรือควรศึกษาสภาพภูมิอากาศต่างๆ ก่อนที่จะใช้เรือหรือเดินทางโดยทางน้ำ หากมีสาเหตุใดที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยขึ้น ควรงดหรือลีกเลี่ยงการเดินทาง
-
- ผู้ขับเรือควรศึกษาหาความรู้หรือได้รับการอบรมเกี่ยวกับการใช้เรือ และฝึกหัดการขับเรือ ให้มีความชำนาญเพียงพอ ก่อนที่จะนำเรือออกวิ่ง
-
- ผู้ขับเรือและผู้โดยสาร ควรจะว่ายน้ำเป็น เพื่อจะได้สามารถช่วยตัวเองได้ ขณะเกิดอุบัติเหตุ “ผู้ที่ว่ายน้ำไม่เป็น ไม่ควรเดินทางโดยทางเรือ”
-
ทางอากาศ
ปัจจัย
1.ผู้ขับเครื่องบิน
-
- ผู้ขับเครื่องบินขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เช่น ไม่บินตามเส้นทาง
-
2.สภาพอากาศ
2.ครื่องยนต์อยู่ในสภาพดีหรือขัดข้อง น้ำมันเชื้อเพลิงพอไหมหมดกลางทางหครื่องยนต์อยู่ในสภาพดีหรือขัดข้อง น้ำมันเชื้อเพลิงพอไหมหมดกลางทาง
-
-
-
-
แนวทางป้องกัน
- ผู้โดยสารจะต้องปฏิบัติตามกฎหรือข้อบังคับของการโดยสารทางอากาศอย่างเคร่งครัด เช่น การรัดเข็มขัด
- ตรวจเช็คสภาพเครื่องอยู่เสมอ ชำรุดหรือเสื่อมคุณภาพจะได้แก้ไขซ่อมแซม ก่อนการนำไปใช้
- นักบินหรือเจ้าหน้าที่ จะต้องตรวจสภาพเครื่องบิน เครื่องยนต์ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการบิน ก่อนที่จะนำเครื่องขึ้นบินทุกครั้ง
- สภาพอากาศ ทัศนวิสัยดีหรือไม่ ต้องงดการบินหรือไม่
- ผู้เกี่ยวข้องหรือนักบินจะต้องมีความรับผิดชอบสูง และมีความระมักระวัง รวมถึงการปฏิบัติตามกฏการเดินอากาศด้วย
- ผู้โดยสารควรทำตามคำแนะนำและปฏิบัติตามที่เจ้าหน้าที่หรือนักบินโดยเคร่งครัด
- ควรศึกษาหาความรู้หรือฝึกฝนเกี่ยวกับเรื่องการบินและตัวเครื่องบิน เพื่อให้เกิดความชำนาญ
- เจ้าหน้าที่หรือนักบินที่เกี่ยวข้อง จะต้องดูแลรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรงเสมอ ไม่ควรขับเครื่องบินหากมีความบกพร่องหรือสภาพจิตใจไม่พร้อม
-
จมน้ำ
-
แนวทางการป้องกัน
1.ตัวเด็กเมื่ออายุเกิน 6 ปีขึ้นไป ควรให้ฝึกทักษะชีวิต (life skill) โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะความปลอดภัยทางน้ำ เช่น ฝึกทักษะความปลอดภัยทางน้ำ 5 ประการ
-
-
-
-
-
4.ชุมชนต้องจัดพื้นที่ปลอดภัยให้เด็ก กำจัดสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษต่อการใช้ชีวิตของเด็ก และดัดแปลงสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนเพื่อลดความเสี่ยง
3.ครู ควรสอนการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในโรงเรียนตั้งแต่ชั้นประถมแก่เด็กนักเรียน ส่งเสริมให้มีในโรงเรียนตั้งแต่ชั้นประถมแก่เด็กนักเรียน ส่งเสริมให้มีโรงเรียนควรมีการทบทวนถึงความปลอดภัย และสร้างสถานที่ปลอดภัย ทั้งภายในและบริเวณรอบโรงเรีย
-
5.สถานพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ควรพัฒนาการสร้างเสริมทักษะส่วนบุคคล โดยให้ความสำคัญ ในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก
-
ไฟไหม้/ไฟช็อต
-
แนวทางป้องกัน
1.หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า วิธีง่ายๆ คือการใช้ไขควงไฟฟ้าแตะที่ตัวโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้า หากมีแสงไฟติด แสดงว่ามีไฟฟ้ารั่ว ให้หยุดใช้งานในทันที
2.หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์เต้ารับไฟฟ้าภายในบ้าน ตามจุดต่าง ๆ หากสังเกตว่ามีการชำรุดเสียหาย ควรเปลี่ยนใหม่ และใช้ไขควงไฟฟ้าเช็คตรวจสอบกระแสไฟฟ้าอีกครั้ง
3.ตรวจเช็คสายไฟ โดยเฉพาะสายไฟที่ซ่อนตามจุดต่าง ๆ เพราะอาจจะมีการเสื่อมสภาพ โดยเริ่มจากการปิดสวิตซ์ ถอดปลั๊กอุปกรณ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกจุด และให้สังเกตที่มิเตอร์ หากมีการหมุนอยู่แสดงว่ามีกระแสไฟรั่วอยู่
-
5.ห้ามแตะสัมผัสอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าในขณะที่ร่างกายเปียกชื้น หรือยืนอยู่ในบริเวณที่ชื้นแฉะ เพราะหากมีกระแสไฟฟ้ารั่ว อาจถูก ไฟดูด ได้
- ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าดูด
-
-
-
-
แนวโน้ม
จากการเฝ้าระวังและวิเคราะห์สถานการณ์อันตรายจากกระแสไฟฟ้าในไทยช่วงปี 2545-2549 โดยสํานักระบาดวิท ยา กรมควบคุมโรคพบทั่วประเทศมีแนวโน้มการบาดเจ็บสูงขึ้นเรื่อยๆ จาก 9,128 รายในปี2545 เป็น 12,692 ราย ในปี 2549 พบตลอดทั้งปีเฉลี่ยปีละ 11,060 รายซึ่งประมาณร้อ ยละ 5 บาดเจ็บรุนแรง และจํานวนการเสียชีวิตเพิ่มจาก 493ราย เป็น 673 ราย ในช่วงเดียวกัน เฉลี่ยปีละ 548 รายสําหรับสถานทีเกิดเหตุเกือบทุกครั้งเกิดขึ้นที่บ้านหรือในบริเวณบ้านรองลงมาคือ สถานที่ก่อสร้าง โรงงาน ร้อยละ 22 ตามถนนทางหลวงร้อยละ 8 ในไร่นา ร้อยละ 6 สถานที่ขายสินค้า ร้อยละ 5
น้ำร้อนลวก
ปัจจัย
-
-
- ความรู้เท่าไม่บถึงการณ์ในเด็ก
แนวทางแก้ไข
น้ำร้อนลวกระดับที่ 2
- ให้ล้างแผลหรือแช่แผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติด้วยใช้ผ้าสะอาดซับให้แห้ง ทาด้วยยาแล้วใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
-
น้ำร้อนลวกระดับที่ 3
- เป็นบาดแผลที่มีขนาดลึก อาจทำให้มีอันตรายร้ายแรงได้ จึงควรรีบนำส่งไปรักษาที่โรงพยาบาล
น้ำร้อนลวกระดับที่ 1
1.ล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติ หรือเปิดน้ำให้ไหลผ่าน ประมาณ 15-20 นาที หรือจนกว่าอาการปวดแสบปวดร้อนจะลดลง อาจใช้สบู่อ่อน ๆ ชะล้างสิ่งสกปรกออกไปก่อนและล้างด้วยน้ำสะอาด
- ให้ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาด
แน้วโน้ม
จากการสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ.2555 -2556 โดยกลุ่มสถิติแรงงานสำนักเศรษฐกิจและสังคมสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบ ผู้ที่ถูกไฟ/น้ำร้อนลวก เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.6 เป็นร้อยละ 3.6
-
พลัดตกหกล้ม
ผู้สูงอายุ
-
-
แนวทางการป้องกัน
-
-
-
สวมใส่เสื้อผ้า รองเท้าที่มีขนาดพอดี รองเท้าควรเป็นรองเท้าส้นเตี้ย ขอบมน มีหน้ากว้าง และเป็นแบบหุ้มส้น พื้นรองเท้าควรมีดอกยาง ไม่ลื่น
-
-
-
-
กลุ่ม A4
นางสาว กมลพรรณ เรืองศรี รหัสนักศึกษา 61102301005
นางสาว กรรณิการ์ วรอิน รหัสนักศึกษา 61102301008
นางสาว กานติมา อินแผง รหัสนักศึกษา 61102301014
นางสาว เจนจิรา กาญจนถิ่น รหัสนักศึกษา 61102301026
นางสาว ชฎาพร วิลัยศิล รหัสนักศึกษา 61102301029
นางสาว ณัชชา มาจันตะ รหัสนักศึกษา 61102301037
นางสาว ณัฐพร วัฒนา รหัสนักศึกษา 61102301043
นางสาว ทิพรัตน์ ขุนรา รหัสนักศึกษา 61102301049
นางสาง ประวีณา หมีสกุล รหัสนักศึกษา 61102301074
นางสาว ปุณฑริกา สิทธิ รหัสนักศึกษา 61102301085
นาย พรภพ จันลาสี รหัสนักศึกษา 61102301095
นางสาว ไพลิ อ้วนวิจิตร รหัศนักศึกษา 61102301104
นางสาว รุ่งนภา สนองวงศ์ รหัสนักศึกษา 61102301117
นางสาว วรรณวิสา กิจประกายมุข รหัสนักศึกษา 61102301124
นางสาว วรันธร บัวทุม รหัสนักศึกษา 61102301126
นางสาว ศุภากร หอมเนียม รหัสนักศึกษา 61102301149