Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ, นางสาว พูนศิริ คำพันธ์ 621201141 -…
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
ความหมาย ความสำคัญของการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment หมายถึง การรวบรวมมาซึ่งข้อทูลเกี่ยวกับบุคลอย่างเป็นระบบ โดยการประเมิร การตรวจสอบเพื่อทราบถึงภาวะสุขภาพ
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
1.การรวบรวมข้อมูล Collecting
2.การวิเคราะห์ข้อมูล Analyzing data
วิธีการประเมินสภาพผู้สูงอายุ
1.การประเมินสุขภาพทางกาย
Physical Assessment
ได้แก่ การซักประวัติ/การตรวจร่างกาย โรคหรือปัญหาที่พบโดยดูจากประวัติการเจ็บป่วย อาการสำคัญ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสี/การตรวจพิเศษ ยาที่ใช้อยู่
2. การประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ
Functional Ability Assessment
เป็นการวัดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆของผู้สูงอายุ ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยไม่ต้องพึ่งพา
3.การประเมิน
ภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
3.1 การประเมินอาหารที่บริโภค (dietary assessment)
โดยการซักประวัติอาหาร ซึ่งวิธีที่ใช้บ่อย คือ การประเมินปริมาณอาหารที่รับประทานใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
3.2 การวัดสัดส่วนของร่างกาย (anthropometric assessment)
ประกอบด้วยส่วนสูง น้ำหนัก การวัดส่วนรอบวงของอวัยวะต่างๆในร่างกาย
3.3 การประเมินภาวะโภชนาการ Mini Nutritional Assessment (MNA) เป็นเครื่องมือที่มีความถูกต้องมีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้เป็นเครื่องมือที่ง่ายและรวดเร็วกับการประเมิรภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
4.การประเมินสุขภาพจิต
Psychological Health Assessment
การประเมินภาวะซึมเศร้า Depression
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุไทย (TGDS/ The Geriatric Depression Scale)
Beck Depression Inventory BDI
Geriatric Depress Scale GDS
การประเมินเชาว์ปัญญา Cognitive function
Thai-MiniMental State Exame TMSE
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา (CDT/Clock Drawing Test)
Mini-Mental State Exam MMSE
แบบทดสอบทางจิตจุฬา Chula Mental Test
5.การประเมินทางสังคม
Social Functioning Assessment
ประกอบด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ สัมพันธภาพในครอบครัว ลักษณะครอบครัว เศรษฐานะ สายสัมพันธ์ทางสังคม ความเชื่อทางการศาสนา
6.การประเมินสิ่งแวดล้อม
Environment Assessment
แบบประเมินบ้าน Home Safety Checklist
แบบประเมินการพลัดตดหกล้ม Risk fall in Hospital
แนวทางการประเมินสภาพตามแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่ 6 ด้านสติปัญญาและการรับรู้
Cognitive-Perceptual
แบบแผนที่ 7 ด้านการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
Self-Perception-Self-Concept Pattern
แบบแผนที่ 5 ด้านการพักผ่อนนอนหลับ
Sleep-Rest Pattern
แบบแผนที่ 8 ด้านบทบาทและสัมพันธภาพ
Role-Relationship
แบบแผนที่ 4 ด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย
Activity of daily Pattern
แบบแผนที่ 9 ด้านเพศและการเจริญพันธุ์
Sexuality-Reproductive
แบบแผนที่ 3 ด้านการขับถ่าย
Elimination Pattern
แบบแผนที่ 10 ด้านการปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
Coping-Stress Tolerance Pattern
แบบแผนที่ 2 ด้านภาวะโภชนาการและเมตาบอลิซึม
Nutrirional-Metabolic Pattern
แบบแผนที่ 11 ด้านการมีคุณค่าและความเชื่อ
Value-Belief Pattern
แบบแผนที่ 1 การรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
Health Perception-Health Management Pattern
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
แบบประเมินบ้าน
Home Safety Checklist
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม
Hendrich II Fall Risk Model 2002
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา
(CDT/ Clock Drawing Test)
แบบประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผน
ในการทำหน้าที่ด้านสุขภาพของกอร์ดอน
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น
Mini-Mentral State Examination- Thai Version MMSE-T
เครื่องมือประเมินสมถภาพในเชิงปฏิบัติ
A. ดัชนีบารืเธลเอดีแอล Barthel ADL Index
B. แบบประเมินความสามาถในเชิงปฏิบัติชั้นสูง
Instrument Activities daily Living Index
นางสาว พูนศิริ คำพันธ์ 621201141