Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม,…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การตรวจ CT scan
การซักประวัติ ตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตื้อๆตลอดเวลาหรืออาจปวดมากเป็นพักๆ ท้องผูกหรือท้องเสีย มีอาการกดเจ็บและท้องแข็ง (guarding) มีไข้สูง
แนวทางการรักษา
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ appendectomy สำหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด laparotomy อายุครรภ์ที่เหมาะสมที่สามารถทำได้คือเมื่ออายุครรภ์อยู่ในไตรมาสที่หนึ่งและสอง
การรักษาด้วยวิธีนี้อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis) ได้ในไตรมาสที่สาม
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
พยาธิสภาพ
ไส้ติ่งอักเสบเกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง ส่วนการอุดกั้นนั้นส่วนหนึ่งเป็นการเกิดขึ้นเองโดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดแต่ส่วนหนึ่งเกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆตกลงไปอุดกั้นอยู่ภายในรูของไส้ติ่งทำให้เชื้อแบคทีเรียเกิดการเจริญรุกล้ำเข้าไปในผนังไส้ติ่งจนเกิดการอักเสบตามมา
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis)
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียน โดยเฉพาะภายหลังการรับประทานอาหารที่มีไขมัน
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด
พยาธิสภาพ
ขณะตั้งครรภ์มีการเพิ่มขนาดของมดลูกทำให้เกิดแรงดันและกดเบียดทำให้การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดีไม่ทำให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ำดีลดลงมีการหนาตัวของท่อน้ำดีทำให้มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนที่มีผลต่อภาวะhypercholesterolemia การอักเสบของถุงน้ำดีเฉียบพลัน
การวินิจฉัย
การตรวทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจความเข้มข้นของเลือด CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
ตรวจ U/A อาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น Radiographic diagnostic
การตรวจร่างกายพบ colicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
การรักษา
การทำ Laparoscopic for cholecystectomy/ cholecystectomy
(ทำในการตั้งครรภ์ไตรมาสที่สองไม่เสี่ยงต่อการแท้ง)
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Analgesia; morphine
ให้งดอาหารและน้ำ
ให้ ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrumสตรีตั้งครรภ์ ไตรมาสที่สามห้ามให้ยากลุ่ม sulfa
ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะลำไส้อุดกั้น (Bowel obstruction)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
การตรวจร่างกาย มีอาการปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์
ปัญหาเกี่ยวกับไต
ภาวะปริมาตรเลือดต่ำจากการเสียเลือด
ช็อกและเสียชีวิต
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
คลอดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
ทารกเสียชีวิตในครรภ
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
การรักษา
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
ให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศ การทำอาจพบว่า
เกิดภาวะพังผืดในช่องท้องอาจนำไปสู่การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องได้ในภายหลัง
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลภาวะท้องผูกภายหลังการผ่าตัด
ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้นได้อีกในไตรมาสที่สาม
ให้งดอาหารและน้ำ
ติดตามและป้องกันภาวะลำไส้ตายภายหลังการผ่าตัด
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลำไส้จากพังผืด (adhesions) การบิดของลำไส้ (volvulus) การตีบ ก้อนเนื้องอก หรือไส้เลื่อนภาวะลำไส้อุดกั้น
เริ่มขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 20-25 สัปดาห์และมักแสดงอาการเมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สาม
เนื่องจากการขยายของมดลูกจะมีผลต่อลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่โดยตรงการอุดกั้นจะมีผลต่อการทำงานและการดูดซึมสารอาหารของลำไส้ที่ลดลงการไหลเวียนเลือดในร่างกายจะเพิ่มขึ้นในขณะที่สารอาหารในหลอดเลือดลดลง ลำไส้ที่มีการอุดกั้นจะบวม
ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian tumor)
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงโดยเฉพาะประวัติโรคทางนรีเวช
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจ MR
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
คลอดยาก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
มีภาวะท้องมานน้ำ
คลอดยาก
การรักษา
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic) เพื่อตัดก้อนเนื้องอกออก (cystectomy) ในกรณีที่ก้อนเนื้อนั้นมีขนาดน้อยกว่า 8 เซนติเมตร
ทำการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อนำก้อนเนื้องอกและปีกมดลูกและรังไข่ (salphigo-oophorectomy) หากขนาดของก้อนเนื้องอกใหญ่กว่า 10 เซนติเมตรขึ้นไป
การผ่าตัดควรทำเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
วินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มากและการตั้งครรภ์สามารถดำเนินต่อไปจนครบกำหนด
พิจารณาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกับนำก้อนเนื้องอกออก C/S with hysterectomy or a bilateral salphigo-oophorectomy ภายหลังได้
หากผลการชันสูตรพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่และมารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด ให้งด breast feeding
พยาธิสรีรภาพ
การโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์วมกับการติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกได้มักพบว่ามีขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์พบว่าก้อนเนื้อนั้นกลายเป็นมะเร็งรังไข่ได้ 1:25,000 รายของการตั้งครรภ์