Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection during pregnancy)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ (Asymptomatic bacteriuria: ASB)
มีแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 colony forming unit/ml (cfu/ml) เก็บปัสาวะสะอาดติดต่อกัน 2 ครั้ง โดยไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ
หากตรวจพบ ASB ในสตรีตั้งครรภ์ ต้องรักษา เพราะมีการยืดขยายของทางเดินปัสสาวะ เชื้อโรคแพร่กระจายไปยังกรวยไต อักเสบไตได้ หากไม่ได้รับการรักษาจะเป็นกรวยไตอักเสบ
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute pyelonephritis)
มีแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 colony forming unit/ml (cfu/ml)
ปัสสาวะเป็นหนอง มีไข้ หนาวสั่น ปวดบั้นเอว หากเคยเป็นมีโอกาเกิดมายิ่งขึ้น
โรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ
(Nephrotic syndrome)
พบโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 5 กรัมต่อวัน โปรตีนในเลือดต่ำ ไขมันในเลือดสูง บวมโดยไม่ทรายสาเหตุ
ทารกในครรภ์น้ำหนักน้อย ถ้ามารดามีความดันสูงร่วมด้วยสุขภาพของทารกจะแย่ลงมาก
ภาวะไตวาย (renal failure)
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวเกิดการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด อาจเกิด septic shock
ผลต่อทารก คลอกก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย เจริญเติบโตช้า และตายคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ปัสสาวะขุ่น เป็นสีล้างเนื้อ มรไข้ ปวดท้องน้อยหัวหน่าว หากกดที่ costovertebral angle จะปวดมาก
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ จะพบไข่ขาว เม็ดเลือดขาว พบแทคทีเรีย
มากกว่า 105 dfu/ml และตรวจเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรกและซ้ำอีกเมื่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
1.การซักประวัติ ประวัติการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธ์ุ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ฮอร์โมนเอสโตรเจนเพิ่มขึ้น ท่อไตตึงตัว ท่อไตหดรัดตัวและเคลื่อนไหวลดลง ดูดซึมกลับลดลง ปัสสาวะจึงค้างอยู่ทางเดินปัสสาวะ
มดลูกมีการขยายใหญ่และกดเบียบกระเพาะปัสสาวะรูเปิดของหลอดไตที่กระเพาะปัสสาวะบิดงอ ขับปัสสาวะไม่สะดวก ปัสสาวะค้างทำให้เกิดกระเพาะปัสสาวะและกรวยไตอักเสบ
ติดเชื้อ E. Coli อยู่รอบท่อปัสสาวะ
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นเรื่องการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธืุภายนอกทุกครั้งหลังขับถ่าย เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับป็นซ้ำ
ให้คำแนะนำเรื่องการป้องกัน โดยเน้นการคุมกำเนิด รายที่มีบุตรพอแล้วและเป็นโรคไตเรื้อรังคุมกำเนิดแบบถาวร ถ้าตั้งครรภ์อาจทำให้อาการรุนแรงมากขึ้น
ระยะตั้งครรภ์
2.เน้นการมาตรวจครรภ์ตามนัด ต่อเนื่องสม่ำเสมอ
แนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการติดเชื้อ พักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำ วันละ8-10 แก้ว รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ สังเกตอาการ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะออกน้อย มีไข้ คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้องน้อย ถุงน้ำคร่ำแตก ให้รีบมาพบ แพทย์
1.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินโรค
การณีติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และได้รับการรักษา สังเกตอาการ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ไตวาย
5.การณีอยู่โรงพยาบาล ต้องบอกถึงความจำเป็น ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม. ฟังเสียงหัวใจทารก บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก ให้รับยาตามแผนการรักษาบรรเทาความไม่สุขสบาย ดูแลประคับประคองจิตใจ
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปวดแล้วต้องรีบปัสสาวะ ปัสสาวะมีสีขุ่นหรือสีแดง มีไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดบริเวณท้องน้อย
หากเคยมีประวัติเป็นแบบไม่แสดงอาการมาก่อนมีโอกาสพัฒนาเป็นกระเพาะปัสสาวะติดเชื้อเฉียบพลันได้
ภาวะไตวาย (renal failure)
1.ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
สาเหตุจาก DM, SLE, glomerulonephritis ส่วนมากจะไม่ตั้งครรภ์ หากตั้งครรภ์ต้องดูแลใกล้ชิดหรือพิจารณายุติการตั้งครรภ์
2.ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
สาเหตุจากแท้งติดเชื้อ แต่สามารถดูแลและสามารถตั้งครรภ์ืต่อไป