Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
anatomy of heart
ลักษณะและตำแหน่งของหัวใจ
หัวใจเป็นอวัยวะที่เป็นกล้ามเนื้อมีลักษณะเป็นโพรง
อยู่ตรงกลางช่องทรวงอก หลัง Sternum ระหว่าง 2 ข้าง
เหนือกระบังลม
ตัวหัวใจอยู่เยื้องมาทางซ้าย
Apex อยู่ช่องซี่โครงที่ 5 ข้างซ้าย
ยอดหัวใจอยู่หลังช่องซี่โครงที่ 2
ขนาดของหัวใจ
หัวใจยาว 5 นิ้ว กว้าง 3.5 นิ้ว หนา 2.5 นิ้ว
น้ำหนัก 250-300 กรัม
เต้น 72 ครั้ง/นาที
บีบเลือดออกไปประมาณ 8,000 ลิตร/วัน
Cardiac Muscle cells
1.Myocardial Cells เป็นเซลล์โครงร่างของหัวใจ
ถูกกระตุ้นโดยกระแสไฟฟ้าได้
2.Pacemaker Cells เป็น Electrical cells สามารถ
ผลิตไฟฟ้า และส่งต่อไปเซลล์อื่นได้
อัตรากำลังการผลิตไฟฟ้าของหัวใจ
แหล่งผลิตไฟฟ้าที่เป็นปกติของหัวใจ
อยู่ที่ Sinus node
ส่วนอื่นคือ Atrium, AV juction และ
Ventricle (กำลังผลิตจะน้อยกว่า)
4 Characteristics of cardiac cells
Automaticity สร้างกระแสไฟฟ้าได้
Excitability ตอบสนองต่อไฟฟ้าที่มากระตุ้นได้
Conductivity เป็นการสื่อนำไฟฟ้า ส่งต่อจาก
เซลล์หนั่งไปยังเซลล์อื่นได้
Contractility ตอบสนองต่อไฟฟ้าที่มากระตุ้น
โดยการหดและยืดตัว
Cardiac conduction system
Conducting pathways SA node➡️AV node➡️Bundle of HIS➡️Bundle Branches➡️Purkinje Fibers
Cardiac action potential
Cardiac action potential
เกิดจากการไหลเข้าออกของ electrolyte
3 ตัวหลัก คือ Na+, K+ และ Ca++
Depolarization
คือ สภาวะภายในเซลล์ประจุไฟฟ้าเป็นบวก
เพิ่มมากขึ้น จากการไหลของ Na+,Ca++
เข้าเซลล์
Electro-cardiography
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ในหัวใจมีคลื่นของไฟฟ้า ซึ่งวิ่งผ่านเซลล์
ของกล้ามเนื้อหัวใจทำให้เซลล์เกิดการ
Depolarization และ Repolarization มี
ผลทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดและคลายตัว
เรานำเครื่องมือมาบันทึกคลื่นไฟฟ้า
หัวใจและเขียนลงบนกระดาษ
EKG 12 lead
Six limp lead
ㆍ Lead I, aVL มองเห็นหัวใจด้านซ้าย
Lead I1, I11, aVF มองเห็นหัวใจด้านล่าง
Lead aVR มองเห็นหัวใจด้านขวา
Pericardial lead
ㆍ V1, V4 ด้าน Anterior
ㆍV2, V3 ด้าน Poserior
ㆍ V5, V6 ด้าน Lateral
ㆍ V1, V2 ตรงแบ่งห้องหัวใจ septum
การอ่าน ECG Rhythm
ㆍ Rhythm สม่ำเสมอหรือไม่
ㆍHeart Rate เร็ว ช้าหรือปกติ
ㆍ P wave มีหรือไม่รูปร่างปกติหรือไม่และสัมพันธ์
กับ QRS หรือไม่
ㆍPR interval ปกติหรือไม่ ค่าคงที่ไหม
ㆍQRS complex แคบหรือกว้าง (0.04-0.1 วินาที)
รูปร่างเหมือนกันไหม
St segment เป็นอย่างไร (elevate/depress)
ㆍT wave ว่าเป็น positive deflect หรือไม่
การติด Lead EKG
ㆍ V1 ช่องซี่โครงที่ 4 ข้าง Rt. Sternum
ㆍ V2 ช่องซี่โครงที่ 4 ข้าง Lt. Sternum
V4 mid clavicle ตั้งฉากกับช่องซี่โครงที่ 5
ㆍ V3 ระหว่าง V2 กับ V4
ㆍ V6 กึ่งกลางรักแร้ลากลงมาซี่โครงที่ 5
ㆍ V5 ระหว่าง V4 กับ V6
EKG
P wave
ㆍ เกิดจากกระแสไฟฟ้าวิ่งผ่านเกิด
atrial depolarization โดยเริ่มจาก
SA node กระจายทั่ว Atrium
ทั้งซ้ายและขวา
กว้างและสูงไม่เกิน 0.12 sec
หัวตั้งใน lead I, II, V4 6,aVF
QRS complex
ㆍเกิดจาก ventricular depolarization
กว้าง 0.06-0.10 sec
Q ปกติไม่เกิน 1 mm
QRS สูงประมาณ 10 mm แต่ไม่เกิน 25 mm
T wave
ㆍเกิดจาก ventricular repolarization
ㆍupright ใน lead I, II, V3 to V6
ㆍinverted in aVR
ㆍรูปร่างปกติ T wave จะมน และไม่สมมาตร
Cardiac arrhythmias
คือ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะไม่เป็นจังหวะตามธรรมชาติอาจเต้นเร็วเกินหรือช้าเกินไป
ทำให้การสูบฉีดเลือดไม่มีประสิทธิภาพ :
สาเหตุ
หัวใจโตหรือหัวใจล้มเหลว
โลกของลิ้นหัวใจตีบหรือรั่ว
ภาวะสูญเสียสมดุลอิเล็ค โตรลัยท์
เช่น K Mg Ca Na
การกระตุ้น Autonomic nervous system
ทั้ง sympathetic และ parasympathetic
การพักผ่อนและเพียงพอ
การได้รับชา กาแฟ หรือบุหรี่
อาการ
มีอาการใจสั่นจากหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ
หัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ
วิงเวียนศรีษะ หน้ามืดเป็นลม
มีอาการเหนื่อยและเจ็บหน้าอก
การรักษา
ให้ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น Digitalis, Amiodarone propanol
ใส่สายสวนหัวใจหรือรักษาโดยใช้คลื่นความถี่วิทยุ
ที่บริเวณวงจรไฟฟ้าที่ผิดปกติ
การฝังเครื่องมือ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ
Sinus bradycardia
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ผู้ป่วยที่มี myocardial infarction
การรักษา
Atropine
Ephedrine
Pace maker
Sinus tachycardia
สาเหตุ
การขาดออกซิเจนหรือการขาดเลือด
ภาวะโลหิตจาง การขาดน้ำ และความดันโลหิตต่ำ
การรักษา
ในผู้ป่วย Myocardial infarction ควรให้
ยา Beta Blockers เพื่อป้องกันการซาด
เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ
Atrial fbrillation
เลือดจับตัวเป็นก้อน และไปอุดตันเส้นเลือดที่สมองจะ
ทำให้เกิดStroke เป็นอัมพาตได้
การป้องกันไม่ให้เกิดก้อนเลือด ในผู้ป่วยที่หัวใจ
เต้นผิดปกติจำเป็นต้องใช้ยาต้านการจับตัวของ
เม็ดเลือด เช่น Warfarin
ปัญหา Low cardiac output
Cardiac Output = HR*SV
ทำ cardioversion
R = rate แก้ไขอัตราการเต้นของหัวใจ
V = volume ทำให้ผู้ป่วยมีเพียง
พอโดยให้ IV fuid/blood
H = heart แก้ไขให้จังหวะการเต้นของหัวใจ
เป็นปกติ เช่น การใช้ยาAmiodarone หรือการ
ทำ cardioversion
R = rate แก้ไขอัตราการเต้นของหัวใจ
โดยการให้ยา digitalis,beta-blocker
S = stroke แบ่งออกเป็น 2 อย่าง
ที่ช่วยให้หัวใจบีบเลือดออกดีขึ้น
1.ลดSVR โดยการใช้ยาขยาย
หลอดเลือด
เพิ่มContractility อาจใช้ยากลุ่ม
Inotropics เช่น Dobutamine, Dopamine
Coronary artery disease
หลอดเลือดแดงตึบ/ดัน เกิดจาก
คราบไขมันสะสมอยู่ในผนังหลอด
เลือดทำให้เยื่อเบื่ผนังหลอดเลือดชั้น
ในหนาและแคบลง
อาการและอาการแสดง
เจ็บเค้นอก ใจสั่น เหงื่อออก
เป็นลมหมดสติหรือเสียชีวิต
เฉียบพลัน
เป็นลมหมดสติหรือเสียชีวิต
เฉียบพลัน
ลักษณะอาการของChest pain
ภาวะเจ็บหน้าอกแบบคงที่และเกิดอาการ
เรื้อรัง(Chronic stable angina)
ผิดปกติ
เจ็บหน้าอกแบบแน่นๆ สัมพันธ์กับ
ความเครียดและภาวะหัวใจเต้นเร็ว
เกิดเป็นเวลา2-3นาที อาการจะ
ทุเลาลงเมื่อนั่งพักหรืออมยาใต้ลิ้น
ภาวะเจ็บหน้าอกแบบอาการไม่คงที่และ
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายแบบเฉียบพลัน
อาการจะเกิดขึ้นใหม่ขณะพักหรือ
จากการกระตุ้นทางด้านอารมณ์
การปวดร้าวไปที่คอ คาง แขน และ
ไหล่ซ้าย ร่วมกับการมีอาการใหม่
ใหม่เกิดขึ้นร่วมด้วย ได้แก่ คลื่นไส้
อาเจียน และหายใจทอบเหนื่อย
ผลการตรวจEKG พบST depression
สาเหตุ
ประวัติคนในครอบครัวเป็นโรค
หลอดเลือดหัวใจ
เพศชายอายุตั้งแต่ 40 ปีเพศหญิงอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
เพศชายมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรตกล้ามเนื้อหัวใจขาด
เลือดมากกว่าเพศหญิง
การสูบบุหรี่
โรคประจำตัวอื่นๆ เช่น โรคความ
ตันสูง โรคเบาหวาน
ขาดการออกกำลังกาย
การรักษา
การรับประทานยาต้านการเกะกลุ่มของเกร็ดเลือด ยาลดการติดตัวของหัวใจ
ยาขยายหลอดเลือด และยาลดไขมันในเลือด
การรักษาด้วยการทำPCI (ใส่
stent)
การรักษาโดยการผ่าตัดทำทางเบี่ยง
หลอดเลือด(Bypass)
การใช้ยาสลายลิ่มเลือด
ข้อบ่งใช้
ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกจาก
หัวใจขาดเลือดเป็นเวลาอย่างน้อย
30 นาที
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
ผู้ป่วยลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด
ปอดและหลอดเลือดดำ
ข้อห้ามใช้ยาสลายลิ่มเลือด
ผู้ป่วยมีประวัติโรคหลอดเลือดสมอง
ผู้ป่วยที่มีประวัติผ่าตัดใหญ่ภายใน
14 วันหรือหลังคลอดบุตรไม่เกิน 7 วัน
มีประวัติเลือดออกง่ายและความดัน
โลหิตสูง
มีอาการชัก
ข้อควรระวังในการใช้ยา
ระวังการใช้ยาสลายลิ่มเลือดร่วมกับ
ยาต้านเลือดแข็งตัว
ถ้าคนไข้เคยได้รับยาสเตรป
โตไคเนสมาก่อนห้ามใช้ยาช้ำอีก
ผลข้างเคียง
มีเลือดออกมากผิดปกติ เช่น อุจจาระมีเลือดปนหรือสีดำคล้ำ
เลือดออกตามไรฟันและรอยจ้ำตามผิวหนัง
ภาวะบีบรัดหัวใจจากการมีเลือดออก
ในโพรงเยื้อหุ้มหัวใจ
การพยาบาล
บรรเทาอาการเจ็บแน่นหน้าอกหรือ
ไม่สุขสบาย
ให้มีการคงไว้ของระบบไหลเวียนเลือดที่เพียงพอ ป้องกันและ
ลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะแทรกซ้อนของโรคและ
แผนการรักษา
บรรเทาความกลัวและคลายความวิตกกังวล ป้องกันไม่ให้โรค
กำเริบและอาการกลับมาเป็นช้ำ