Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม, 00…
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO
(ABO Incompatibility)
ภาวะแทรกซ้อน
สมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะ
kernicterus
แนวทางการประเมิน
และวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ทารกที่มีจุดเลือดออกตามตัว ตับ ม้าม
อาการซีดอาจเกิดจากการแตกทําลายของเม็ดเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบินใน serum นิยมตรวจค่า Total bilirubin
จากเลือดจํานวนเล็กน้อย เจาะจากส้นเท้าของทารก
ตรวจนับเม็ดเลือด นับจํานวน reticulocytes
ตรวจหมู่เลือด ของมารดาและทารกแรกเกิด
หากแม่มีเลือดกรุ๊ป O ลูกทารกเป็น A หรือฺ B
Direct Coomb’s test เพื่อตรวจหา maternal antibodies Rh
and ABO typing
การซักประวัติ
การตรวจกลุ่มเลือด และประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดที่ผ่านมา
เกี่ยวกับการไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด ABO
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยพบอาการซีด
ส่วนใหญ่พบเพียงอาการตัวเหลืองเท่านั้น และมักจะมีอาการ
เหลืองภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อาการแสดงในทารกมักจะไม่รุนแรง
แนวทางการรักษา
หากรุนแรงอาจต้องเปลี่ยนถ่ายเลือดในระหว่างการ
ตั้งครรภ์ แต่หากอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไป การรักษาที่ดีที่สุด
หลังคลอดมักได้รับการส่องไฟ (phototherapy)
ABO Incompatibility ภาวะนี้มักจะเกิดขึ้นในการตั้งครรภ์ใดก็ได้
อาการไม่รุนแรง ไม่ต้องให้การรักษาทารกขณะอยู่ในครรภ์
พยาธิสรีรภาพ
ทารกหมู่เลือด A1 B มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตกอย่างรุนแรง
มีรายงาน anti-B ในมารดาที่มีหมู่เลือด A หรือ subgroup A2
เป็นสาเหตุให้ทารกหมู่เลือด B เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกได้
มารดาหมู่เลือด O มักจะมี anti-A และ anti-B ชนิด IgG
บ่อยกว่ามารดาหมู่ เลือด A หรือ B
การพยาบาล
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป รวมถึงการรักษาและพยาบาล
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
แนวโน้มทารกที่มีอาการรุนแรงมักจะเกิดในคนผิวดำ (Black)
เนื่องจาก anti-A และ anti-B จะมีความแรงมากกว่าคนเอเชีย (Asian) และคนผิวขาว (Caucasian)
ส่วนใหญ่จะพบในทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh
(Rh Incompatibility)
อาการและอาการแสดง
อาจเกิดหัวใจวายตัวบวมนํ้าที่เรียกว่า hydrops fetalis
และอาจเสียชีวิตในครรภ์ได
หากทารกมีhemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีดมาก
ผลกระทบต่อสตรี
ตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
เกิดภาวะ neonatal anemia, hydrops fetalis
ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia, kernicterus
มักพบผลกระทบต่อทารกในการตั้งครรภ์ที่ 2
พยาธิสรีรภาพ
ในขณะตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงที่มี Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดา
ทำให้เกิดการสร้าง antibodies ในแม่
เกิดขึ้นเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive
antibodies เหล่านี้จะไปจับและทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก
ทำให้ทารกมีภาวะโลหิตจาง
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
โลหิตจาง ซีด ตัวบวมน้ำ ตับม้ามโต และเหลืองเร็วมาก
การตั้งครรภ์และคลอดครั้งที่ 2 ขึ้นไป
มีอาการรุนแรงจนทำให้เกิด hydrops fetalis
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจ Coombs’ test ให้ผลบวกอย่างรุนแรง (strongly positive)
ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดพบ hematocrit ต่ำมาก reticulocyte count สูง
ระดับของ bilirubin สูงขึ้นมีถึง 180 mg%
การซักประวัติ
การตรวจกลุ่มเลือด ทั้งของสตรีตั้งครรภ์และคู่สมรส
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
พบในคนผิวขาวร้อยละ 85 และร้อยละ 95 พบในคนผิวดำ อินเดียนแดง
และภาคตะวันออกของอเมริกา มีRh positive นอกนั้นจะมีRh negative
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์ Rh
เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มีเม็ดเลือดแดง
แนวทางการรักษา
และการพยาบาล
ป้องกันการเกิด (Rh Isoimmunization)จะเกิดขึ้นเมื่อหญิงตั้งครรภ์มี Rh negative และทารกมี Rh positive
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies
ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ หากไม่พบว่ามี antibodies ควรให้ RhoGAMเพื่อป้องกันการสร้าง antibodies
3 ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา
จะช่วยลดความกลัวและความวิตกกังวลได้
การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ เพื่อตรวจหาหมู่เลือด Rh typing ทุกรายหากหญิงตั้งครรภ์มี Rh negative ควรตรวจ Indirect Coomb’s test
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย
(Thalassemia)
อาการและ
อาการแสดง
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate) ได้แก่ Hb H, α-thalassemia/Hb CS โดยจะมีอาการซีดปานกลาง
ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง
กลุ่มที่ไม่มีอาการ (thalassemia minor) ได้แก่กลุ่มที่เป็นพาหะ และกลุ่ม homozygous Hb E, homozygous Hb CS โดยจะไม่มีอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major) คือ homozygous α-thalassemia (Hb Bart’s hydrop fetalis)ส่วนใหญ่จะเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือเสียชีวิตไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด ทารกจะมีลักษณะบวมน้ำทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ่
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
ของสตรีและทารก
ผลกระทบต่อ
สตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
น้ำหนักน้อย หรือขาดออกซิเจนในระยะคลอด
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อมีความผิดปกติของยีนทำให้การสังเคราะห์
α-globin และ β-globin ลดน้อยลงหรือไม่สร้างเลย
จะทำให้ globin ที่เหลืออยู่รวมตัวกันเอง
แล้วตกตะกอนอยู่ในเม็ดเลือด ทำให้เลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ
คนปกติร่างกายจะมี α-globin และ β-globin อยู่ในสัดส่วนที่สมดุลกัน
เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการซีด
ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับม้ามโต
การประเมิน
และวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
อาจพบภาวะซีด ตับและม้ามโต ตัวเหลือง
ตาเหลือง มีโครงสร้างใบหน้า
เปลี่ยนแปลงผิดปกติ (Thalassemia facies)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าปกติ
ทำ blood smear จะพบเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กและติดสีจาง
การตรวจวัดขนาดเม็ดเลือดแดง (mean corpuscular volume, MCV)
ตรวจ CBC จะพบ Hb, Hct
การตรวจวัดปริมาณฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
(mean corpuscular hemoglobin, MCH)
การทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง
(Osmotic Fragility Test, OFT)
การซักประวัติ
บโรคโลหิตจางในครอบครัว ประวัติโรคเลือด หรือโรคทางพันธุกรรมของ
ครอบครัว อาการและอาการแสดงของโรคโลหิตจาง
ชนิดของ
โรคธาลัสซีเมีย
α-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มี
การสร้าง α-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลย
β-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มี
การสร้าง β-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลย
แนวทางการรักษา
การให้ยาขับเหล็ก ให้ในรายที่ได้รับเลือดมากกว่า 10-20 ครั้ง
หรือ serum ferritin มากกว่า1,000 mg
การตัดม้าม จะทำในรายที่มีอาการปานกลางถึงรุนแรงที่ม้ามโตจนเกิดการกดเบียด
การให้เลือด เพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะซีด
การปลูกถ่ายไขกระดูก เป็นวิธีเดียวในปัจจุบันที่สามารถ
รักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียให้หายขาดได
การให้ความรู้คำแนะนำเกี่ยวกับ สาเหตุอาการ
สาเหตุ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง หมายถึง มีการเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวของ amino acid บน polypeptide chain ทำให้เกิด Hb ที่ผิดปกติ
ความผิดปกติทางปริมาณ หมายถึง มีการสร้าง globin สายใดสายหนึ่งลดลงหรือไม่สร้างเลย โดยที่โครงสร้างของ polypeptide chain ยังปกติ
การพยาบาล
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทาง
ด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัดกรองหาพาหะธาลัสซีเมีย