Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัยพิบัติ และ ภัยสุขภาพ - Coggle Diagram
ภัยพิบัติ และ ภัยสุขภาพ
อุทกภัย
แนวทางการแก้ไข
การก่อสร้างคันกั้นน้ำ 2. การก่อสร้างทางผันน้ำ 3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลำน้ำ
ปัจจัย/สาเหตุ
1.การตัดไม้ทำลายป่า
2.ฝนตกหนักจากพายุหรือพายุฝนฟ้าคะนอง
3.ก่อสร้างโครงสร้างขวางทางน้ำธรรมชาติ
อุบัติการณ์การเกิด
มีแนวโน้มไม่คงที่สูงขึ้นและลดลงบางปี โดยจากสถิติการเกิดอุทกภัย ปี 2555-2561 ประสบอุทกภัยบ่อยครั้ง มากกว่า 4 ครั้ง คิดร้อยละจากหมู่บ้านทั้งประเทศ 74,963 หมู่บ้าน ทั้งหมดในพื้นที่ 76 จังหวัดทั่วประเทศ (ไม่รวม กทม.)
ปี 2558
49 จังหวัด,หมู่บ้าน 5,736 ,ร้อยละของความเสียหายทั่วประเทศ 7.65 % ราษฎรเดือดร้อน
211,360 ครัวเรือน ,มูลค่าความเสียหาย 162,063,478 (บาท)
ปี 2559
62 จังหวัด,หมู่บ้าน 21,170 ,ร้อยละของความเสียหายทั่วประเทศ 28.21% ราษฎรเดือดร้อน 423,176 ครัวเรือน , มูลค่าความเสียหาย 271,167,957 (บาท)
ปี 2557
58 จังหวัด,หมู่บ้าน 15,044 ,ร้อยละของความเสียหายทั่วประเทศ 20.06% ราษฎรเดือดร้อน
601,796 ครัวเรือน, มูลค่าความเสียหาย323,578,804(บาท)
ไข้เลือดออก (Dengue Fever
1.ภาชนะที่ใช้เก็บน้ำต้องมีฝาปิดให้มิดชิด
2ปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะที่มีน้ำขังขนาดใหญ่
3.ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำใส่ในภาชนะขังน้ำ)
เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis)
ควรสวมใส่รองเท้าบู๊ตป้องกันทุกครั้งที่ลุยน้ำ
อัคคีภัย
ปัจจัย/สาเหตุ
1.การสูบบุหรี่หรือการจุดไฟ 2.ความเสียดทานของประกอบของเครื่องจักร เครื่องยนต์ 3.การสูบบุหรี่หรือการจุดไฟ 4.อุปกรณ์ไฟฟ้า
แนวทางการแก้ไข
1.คืบ คลานต่ำ อากาศที่พอหายใจได้ยังมีอยู่ใกล้พื้น สูงไม่เกิน 1 ฟุต
2.ใช้ถุงพลาสติกใส ขนาดใหญ่ตักอากาศแล้วคลุมศีรษะหนีฝ่าควัน (ห้ามฝ่าไฟ)
3.การตรวจตราซ่อมบำรุงดี
4.ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและระงับอัคคีภัย
อุบัติการณ์การเกิด
สถิติการเกิดอัคคีภัย วันที่ 18 -24 พ.ย. 2562
3 จังหวัดลำปาง เลย สมุทรปราการ ,หมู่บ้าน 4 ,ราษฎรเดือดร้อน 4 ครัวเรือน , มูลค่าความเสียหาย 184,300 (บาท) รถดับเพลิง 13 คัน ,รถบรรทุกน้ำ 4 คัน ,รถกู้ภัย 1 คัน
[
ปอดอักเสบ pneumonia
]
วาตภัย
อุบัติการณ์การเกิด
มีแนวโน้มลดลง
ปี 2562
34 จังหวัด,หมู่บ้าน 241 ,ราษฎรเดือดร้อน 1275 ครัวเรือน , มูลค่าความเสียหาย 184,300 (บาท) เสียชีวิต 1 คน บ้านพักอาศัยเสียหาย 56 หลังคาเรือน พืชไร่ 319 ถนน 10 สาย
ปี 2561
75 จังหวัด,หมู่บ้าน 2849 ,ราษฎรเดือดร้อน 94,446 ครัวเรือน , มูลค่าความเสียหาย 42,354,600 (บาท) เสียชีวิต 29 คน บ้านพักอาศัยเสียหาย 50622 หลังคาเรือน พืชไร่ 53,873 ถนน 65 สาย
แนวทางการแก้ไข
ไม่ควรออกนอกอาคาร
ไม่ควรอยู่ในที่ลุ่มหรือที่ราบริมทะเล
ถ้ามีเสาไฟล้ม สายไฟขาด ไม่ควรเข้าใกล้ให้ทำเครื่องหมายหรือเครื่องกั้นไว้
ปัจจัย/สาเหตุ
1) พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ ดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น 2) พายุฤดูร้อน
3) ลมงวง (เทอร์นาโด)
แผ่นดินไหว
อุบัติการณ์การเกิด
ปี 2563
รวมทั้งสิ้น 139
เหตุการณ์จำแนกตามขนาดดังนี้
ขนาดน้อยกว่า 2.0 จำนวน 80 เหตุการณ์
ขนาด 2.0 - 2.9 จำนวน 55 เหตุการณ์
ขนาด 3.0 - 3.9 จำนวน 4 เหตุการณ์
ปัจจัย/สาเหตุ
การกระทำของมนุษย์ อาทิ การทดลองระเบิดปรมาณู การกักเก็บน้ำในเขื่อน และแรงระเบิดจากการทำเหมืองแร่ เป็นต้น
การเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ อันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก แบ่งออกเป็น 2 ทฤษฎีดังนี้..
ทฤษฎีว่าด้วยการขยายตัวของเปลือกโลก
ทฤษฎีว่าด้วยการคืนตัวของวัตถุ
แนวทางการแก้ไข
ขณะเกิดเหตุห้ามใช้ลิฟต์เพราะไฟฟ้าอาจดับได้ และควรมุดลงใต้โตะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันสิ่งของร่วงหล่นทับ
หากอยู่ภาคนอกอาคารให้หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้เสาไฟฟ้า กำแพง และอาคารสูง หายอยู่ใกล้ชายฝั่งทะเลให้รีบขึ้นที่สูงที่ห่างจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นสึนามิได้
ควรมีการฝึกซ้อมการหลบภัยแผ่นดินไหวแต่ละชุมชนหรือหน่วงงานที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
โรคจากฤดูร้อน
อหิวาตกโลก ,ไทฟอยด์
ฤดูฝน
ไข้เลือดออก , มือเท้าปาก, ไข้หวัดใหญ่