Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและ…
บทที่ 8
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง ส่วนการอุดกั้นนั้นส่วนหนึ่งเป็นการเกิดขึ้นเองโดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
เกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆ เรียกว่า "นิ่วอุจจาระ"
ชิ้นเล็กๆ ตกลงไปอุดกั้นอยู่ภายในรูของไส้ติ่ง
ทำให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่งเกิดการเจริญรุกล้ำเข้าไปในผนังไส้ติ่ง จนเกิดการอักเสบตามมา หากปล่อยไว้เพียงไม่กี่วัน ผนังไส้ติ่งก็เกิดการเน่าตายและแตกทะลุได้
4.สาเหตุที่พบได้รองลงมาคือ เกิดจากเนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลืองที่ผนังไส้ติ่งที่หนาตัวขึ้นตามการอักเสบต่างๆ
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดตื้อๆ ตลอดเวลาหรือ
อาจปวดมากเป็นพักๆ
อาจมีท้องผูก หรือท้องเสียก็ได้
มีอาการกดเจ็บ และท้องแข็ง
มีไข้ อาจสูงถึง 38.3 oC
ผลกระทบ
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อาการปวด หรือท้องเสีย ท้องแข็ง มีไข้ อาจมีการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การตรวจ CT scan
การรักษา
วินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบ
ขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
อาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด laparotomy เพื่อทำ laparoscopic ซึ่งอายุครรภ์ที่เหมาะสมอยู่ในไตรมาสที่หนึ่งและสอง
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ
appendectomy สำหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่3
ให้ยาปฏิชีวนะ ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะลำไส้อุดกั้น
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลำไส้จากพังผืด การบิดของลำไส้ การตีบ ก้อนเนื้องอก หรือไส้เลื่อน
มักแสดงอาการเมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สามเนื่องจากการขยายของมดลูกจะมีผลต่อลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่โดยตรง
การอุดกั้นจะมีผลต่อการทำงานและการดูดซึมสารอาหารของลำไส้ที่ลดลง การไหลเวียนเลือดในร่างกายจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่สารอาหารในหลอดเลือดลดลง ลำไส้ที่มีการอุดกั้นจะบวม
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพักๆ
การรักษา
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้นได้อีกในไตรมาสที่สาม
ติดตามและป้องกันภาวะลำไส้ตาย ภายหลังการผ่าตัด
ดูแลภาวะท้องผูก ภายหลังการผ่าตัด
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
งดอาหารและน้ำ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์ ปัญหาเกี่ยวกับไต ภาวะปริมาตรเลือดต่ำจากการเสียเลือด ช็อก และเสียชีวิต
ทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด
คลอดน้ำหนักตัวน้อย ทารกในครรภ์อยู่
ในภาวะคับขัน ทารกเสียชีวิตในครรภ์
การวินิจฉัย
มีอาการปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
อาการปวดบิดท้องเป็นพัก ๆ ประวัติท้องผูก
คลื่นไส้และอาเจียน
WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
ถุงน้ำรังไข่
การวินิจฉัย
ประวัติโรคทางนรีเวช
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจ MRI
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์
พบภาวะของ ovarian cyst /tumor ที่โตขึ้น ร่วมกับการติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกไ
มักพบว่ามีขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด และคลอดยาก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น มีภาวะท้องมานน้ำ และในระยะคลอดพบว่ามีการคลอดยาก
การรักษา
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ ในกรณีที่ก้อนเนื้อนั้นมีขนาดน้อยกว่า 8 เซนติเมตร
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
มารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด ให้งด breast feeding
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกับนำก้อนเนื้องอกออก C/S with hysterectomy or a bilateral salphigo-oophorectomy
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์
ที่ได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการผ่าตัด เพื่อลดความกลัวเกี่ยวกับการสูญเสียบุตร
การพยาบาลขณะผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัด ดูแลให้ได้รับออกซิเจนประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
การดูแลหลังการผ่าตัด
ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM อย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
งดอาหารและน้ำทางปาก ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและ ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
การดูแลแผลผ่าตัด การรับประทานอาหารและการเผาผลาญที่อาจได้รับผลกระทบจากการผ่าตัด
การประเมินภาวะไข้ และการติดเชื้อ อาการและอาการแสดงถึงภาวะแทรกซ้อนของแผลผ่าตัดติดเชื้อ
มาตรวจตามนัด
ยาและการรักษาที่ได้รับ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การนับลูกดิ้น อาการ
และอาการแสดงของการคลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำดีอักเสบ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
การเพิ่มขนาดของมดลูก ทำให้เกิดแรงดันและกดเบียดทำให้การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดีไม่ทำให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ำดีลดลง
เมื่อมีการกดทับเป็นเวลานาน จะทำให้มีการเพิ่มระดับ
โปรเจสเตอโรน ที่มีผลต่อภาวะ hypercholesterolemia
การอักเสบของถุงน้ำดีเฉียบพลันพบได้บ่อยในมารดาที่มีอายุมาก และมารดาที่มีประวัติการอักเสบของถุงน้ำดีอยู่แล้ว
มักเกิดจากการอุดกั้นของ ถุงน้ำดี การเกิดนิ่วในถุงน้ำดี และอาจเกิดภาวะ pancreatitis
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา
คลื่นไส้อาเจียน
มีไข้ และตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบ colicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
มีการเพิ่มของ leukocyte
ตรวจ U/A อาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
พบมีการขยายของท่อน้ำดีมีการอุดกั้น หรือพบนิ่วในถุงน้ำดี
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
ดูแลการได้รับยา morphine
ให้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด และอาการปวดท้องรุนแรงมากขึ้นนขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
คลอดยาก และมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี ตกเลือดหลังคลอด และอาจได้รับการตัดมดลูกได้
ชนิด
Myoma Uteri
ก้อนของกล้ามเนื้อที่จับตัวเป็นก้อนกลมๆ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามอายุ
หากอายุ 30 ปีขึ้นไป หากพบว่ามีภาวะ Myoma ในช่วงตั้งครรภ์
การดำเนินของโรค
2)โตขึ้น 1 ใน 3
3) เล็กลง 1 ใน 3
1)ขนาดเท่าเดิม
มีผลกระทบหรือไม่ขึ้นอยู่กับขนาดและตำแหน่งของ Myoma
Adenomyosis
เป็นภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก แทรกอยู่ตามกล้ามเนื้อ ทำให้หนาแต่ไม่ได้เป็นก้อนชัดเจน
อาจเกิดการฝ่อของเนื้องอกขณะตั้งครรภ์ได้ ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อการตั้งครรภ์ เพราะการฝ่อจะทำให้ก้อนเนื้อกลายเป็นน้ำและแตกได้ และส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ ควรทำเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจพยาธิวิทยาเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
พิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโต
กว่าอายุครรภ์ คลำท่าทารกได้ไม่ชัดเจน
มีเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการปวดท้องที่ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์
ชนิด
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์ เช่น การเกิดรถชน
มอเตอร์ไซด์ล้ม ตก การหกล้มและกระแทก
ได้รับบาดเจ็บทางร่างกายและทางเพศขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ ทารกตายในครรภ์ ทารกตายคลอด
ขึ้นอยู่กับปัจจัยของอายุครรภ์ ชนิดและความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ได้รับ และระดับของความรุนแรงที่มดลูกได้รับความกระทบกระเทือน และสุขภาพของทารกในครรภ์
พบภาวะแทรกซ้อนต่อไปนี้ระหว่างการตั้งครรภ์ คือ การตกเลือดของมารดาและทารกในครรภ์ รกลอกตัวก่อนกำหนด ทารกเสียชีวิตในระยะหลังของการตั้งครรภ์ และคลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
Minor trauma
Bleeding/vg., uterine irritability, Abdominal tenderness, abdominal pain or cramps
Hypovolemia, FHR เปลี่ยนแปลง, Fetal activity หายหรือลดลง
Leakage of amnioticfluid, พบ fetal cell ใน maternalcirculation
Major trauma
ช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs ควรประเมินแบบ systematic evaluation ก่อนให้การดูแล
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพสำเร็จ ควรมีการประเมินสภาพร่างกายทั่วไปตามระบบต่างๆ ว่าอยู่ในสภาพปกติหรือไม่
Immediate care
คำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา ตั้งแต่การประเมินและวินิจฉัย การให้ยา และการช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
ทีมให้การพยาบาลต้องทำการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ
พยาธิวิทยา
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา จะทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์
การช่วยฟื้นคืนชีพสตรีตั้งครรภ์
การตอบสนองขั้นแรก
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทำการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา
การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา
การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์
การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
BEAU-CHOPS
1 Bleeding/DIC/accident
2 Embolism: coronary/pulmonary/amniotic fluid embolism
3 Anesthetic complications
4 Uterine atony
5 Cardiac disease
6 Hypertension/preeclampsia/eclampsia
7 differential diagnosis of standard guidelines, accident, abuse
8 Placenta abruptio/previa
9 Sepsis