Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการประกอบอาชีพ น.ส กนกวรรณ แว่นกลาง A3 61102301003 - Coggle Diagram
โรคจากการประกอบอาชีพ
น.ส กนกวรรณ แว่นกลาง A3 61102301003
โรคจากความร้อน
(Disease caused by heat radiation) :red_flag:
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
:star:
ระดับความชุกในรอบ 3 ปี =13.54 ต่อเกษตรกรแสนคน (ตั้งแต่ปี 2559 – 2561 )
:
จากประชากรเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน กับสำนักงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแก่นจำนวน 225,901 คน พบโรคจากความร้อนสูงที่สุด ได้แก่
อาการล้าชั่วคราว
มีอาการวิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ
หน้ามืด
ลมแดด (heat stroke)
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ชักหมดสติ และ อาจเสียชีวิต วัดอุณหภูมิทางทวารหนักได้มากกว่า 40.2 ºc
โรคเพลียแดด (heat exhaustion)
เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ชีพจรเต้น เร็วปวดศีรษะ วิงเวียน ผิวหนังเปียกชื้น อาจหมดสติ
ภาวะกล้ามเนื้อสลาย
(Rhabdomyolysis)
หมดสติจากความร้อน (heat syncope)
ตะคริวแดด (heat cramps)
ผื่นจากความร้อน (heat rash)
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยเป็นเพศหญิง และกลุ่มตัวอย่างมีอายุอยู่ในช่วงระหว่าง 51-60 ปี และกลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี
ผู้ป่วยที่ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรเพาะปลูกพืช
ได้แก่ ปลูก ข้าว และ มันสำปะหลัง ซึ่งมีจำนวนที่ใช้ในการเพาะปลูก
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ไร่ และมีผลผลิตน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ตัน/ปี
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
:star:
1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของความร้อนที่อาจทำให้เกิดการเจ็บป่วย และการป้องกันอันตรายจากความร้อน
จัดให้มีน้ำเย็นและกระตุ้นให้คนงานดื่มน้ำบ่อยๆ ในระหว่างทำงานที่มีอากาศร้อน อย่างน้อยครั้งละ 1 แก้วทุก 20 นาที
จัดให้มีช่วงเวลาพักบ่อยกว่าการทำงานในสภาพปกติ และบริเวณที่พักมีสภาพอากาศไม่ร้อน
4.สวมใส่เสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี
จัดหาอุปกรณ์ป้องกันความร้อนไม่ให้สัมผัสคนงานโดยตรง
6.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือคาแฟอีน
ปัจจัยสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
:star:
ปัจจัยด้านกายภาพ
สัมผัสกับอากาศร้อนอบอ้าว (ร้อยละ 99.7)
การทำงานมีแสงจ้ามากเกินไป (ร้อยละ 85.5)
เกษตรกรรมเป็นหนึ่งในงานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดการเจ็บป่วยที่เกี่ยวเนื่องจากการสัมผัสความร้อนสูง
เกษตรกรทำงานในที่โล่งแจ้งมีการสัมผัส ความร้อนสูงมาก ในระยะเวลานาน และยังขาดมาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการบริหารจัดการที่ดี
เป็นภาวะผิดปกติในการตอบสนองของร่างกายต่อการสัมผัสความร้อนสูงกว่าปกติ และไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในระดับปกติได้
อ้างอิง
ปฐมฤกษ์ มีสมบัติ , สุนิสา ชายเกลี้ยง, อนุชนรา ตาลกุล คัสเธอร์ .(2562).ความชุกของการเกิดโรคจากความร้อนเนื่องจากการทำงานของเกษตรกรเพาะปลูกในจังหวัดขอนแก่น.วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ,11(3),37-48
วัณโรคปอด (Tuberculosis) :red_flag:
ปัจจัยสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
:star:
โรคติดเชื้อแบคทีเรีย มัยโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium tuberculosis) โดยมักทำให้เกิดโรคความผิดปกติที่ปอด
โรคประจำตัวเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การใช้หน้ากากป้องกันอย่างไม่เหมาะสม
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
:star:
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้จัดประเทศไทยเป็น 1 ใน 14
ประเทศที่มีวัณโรครุนแรง และคาดว่าจะมีอัตรา อุบัติการณ์การเกิดวัณโรคใหม่ ประมาณ 108,000 ราย/ปี
ผลการศึกษาพบว่าบุคลากรโรงพยาบาลปี2561มีจำนวนทั้งหมด 1624 คน
ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ38 ปี
ในปี 2561
ผลจากการตรวจสุขภาพประจำปี
มีผู้ได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคปอดจำนวน 17 ราย
คิดเป็นความชุก ณ ช่วง
เวลา 5 ปีเท่ากับร้อยละ 1.48
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ปฏิบัติงานในแผนก
ผู้ป่วยในและมีอายุงานน้อยกว่า 5 ปี
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
:star:
-มีระบบการคัดกรองผู้ป่วยที่ครอบคลุม และเหมาะสม หากมีอาการผิดปกติที่เข้าข่ายสงสัยควรมีการป้องกันและพิจารณาตรวจวินิจฉัยรักษาโดยเร็ว
การวินิจฉัยโดยแพทย์ที่รวดเร็ว จะช่วย
ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ช่วยทำให้ลด
การแพร่กระจายของเชื้อวัณโรคไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องได้
การตรวจสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาล
มีระบบรวบรวมหรือส่งต่อข้อมูลของบุคลากร ที่อาจจะไปตรวจสุขภาพหรืออาการผิดปกติบางอย่าง ตามกลุ่มงานต่างๆเพื่อให้สามารถรวบรวมและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพได้ดียิ่งขึ้น
การเฝ้าระวังหรือตรวจวัดทาง
สิ่งแวดล้อมเป็นอีกประเด็นที่สำคัญ
การระบายอากาศ
ไม่มีการระบายอากาศที่ดีเพียงพอ จะก่อให้เกิด
การสะสมของเชื้อโรค และเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ทั้งในผู้ป่วยและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ทั้งจากวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เสื่อม
สภาพลง
อ้างอิง
เกศ ชัยวัชราภรณ์,อรพรรณ ธีระตระกูลชัย.(2561).ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเป็นวัณโรคปอดของบุคลากรโรงพยาบาลสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2557-2561.วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย,9(2),166-178