Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคอ้วน - Coggle Diagram
โรคอ้วน
ปัจจัย/สาเหตุ
-
-
3.นอนพักผ่อนไม่เพียงพอ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนและทำให้เกิดความหิวมากกว่าเดิมและอยากทานอาหารที่มีแคลอรี่สูง
-
-
6.เกิดจากการตั้งครรภ์ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์ อาจทำให้ลดยากและไขมันอยู่กับตัวนานจนทำให้นำไปสู่โรคอ้วน
โรคอ้วนเกิดจากการกินอาหารที่มีแคลอรี่เกินกว่าที่ร่างกายจะสามารถเผาผลาญ หากปล่อยให้ล่วงเลยเวลาไป จะทำให้เกิดการสะสมของแคลอรี่ส่วนเกินและทำให้น้ำหนักเพิ่ม ส่งผลให้เป็นสาเหตุของโรคอ้วน
แนวทางการแก้ไข
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเลือกทานอาหารจะช่วยในเรื่องการควบคุมน้ำหนักและเป็นวิธีลดความอ้วนได้เป็นอย่างดี ควรรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพที่เหมาะกับร่างกาย และควรจัดวางแผนโปรแกรมการออกกำลังกาย หรือจัดอาหารสำหรับโปรแกรมการลดน้ำหนักในแต่ละวัน หรือต่อสัปดาห์ การออกกำลังกายจะช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ความอดทน และช่วยการทำงานเมทาบอลิซึมของร่างกายได้ดีขึ้น
การผ่าตัดลดน้ำหนัก (โดยทั่วไปเรียกว่า “ผ่าตัดลดความอ้วน”) ต้องอาศัยความมุ่งมั่นจากผู้ป่วยที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิต การผ่าตัดประเภทนี้จะทำงานโดยการ จำกัด จำนวนอาหารที่ผู้ป่วยต้องรับประทาน เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายดูดซึมอาหารและแคลอรี่ ที่เป็นส่วนเกินเข้าไป
gastric bypass surgery : การผ่าตัดบายพาสกระเพาะอาหาร นำลำไส้ไปต่อกระเพาะอาหารทำให้อาหารไม่ผ่านกระเพาะจะทานอาหารได้น้อยและรู้สึกอิ่มเร็ว
laparoscopic adjustable gastric banding (LAGB) : เป็นการนำห่วงรัดที่ปรับได้ไปรัดกระเพาะเพื่อลดปริมาณการทานอาหารต่อครั้งลง
-
biliopancreatic diversion with duodenal switch: เป็นวิธีที่ลดน้ำหนักได้มากที่สุด แต่ก็มีผลแทรกซ้อนมากที่สุด ในเรื่องของการดูด ซึมสารอาหาร
-
สถานการณ์โรค
จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกในปี พ.ศ. 2557 พบว่าทั่วโลกมีผู้ใหญ่ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน (ค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 25 กก./ตร.ม.ขึ้นไป) ประมาณ 1,900 ล้านรายและเป็นโรคอ้วน (ค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 กก./ตร.ม. ขึ้นไป) อย่างน้อย 600 ล้านราย นั่นคือ ร้อยละ 39 ของผู้ใหญ่ในโลกนี้มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยทั่วประเทศโดยการตรวจร่างกาย คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปในปี พ.ศ. 2552 พบว่ามีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน (ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 25 กก./ตร.ม. ขึ้นไป) มากกว่า 1 ใน 3 เมื่อเทียบกับผลสำรวจในปี พ.ศ. 2534 พบว่าเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่า (จาก 17.2% เป็น 34.7%) และภาวะอ้วนเพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่า (จาก 3.2% เป็น 9.1%)