Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม -…
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ABO Incompatibility
:star: สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
หมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดา
ทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O
:star: พยาธิสรีรภาพ
ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในทารก เฉพาะ IgG1 และ IgG3 เท่านั้นที่สามารถจับกับ Fc-receptor ของเซลล์ฟาโกไซต์แล้วกระตุ้นการทำลายเม็ดเลือดแดงได้
ทารกแรกเกิดมีภาวะซีด บวม และตัวเหลือง จน
อาจเสียชีวิตได้ภายหลังคลอด
:star: อาการและอาการแสดง
ตัวเหลือง
:star: ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการที่สมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะ kernicterus
:star: การวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
การตรวจร่างกาย
จุดเลือดออกตามตัว ตับ ม้าม
อาการซีด มีก้อนโนเลือด
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบินใน serum
ตรวจนับเม็ดเลือด
ตรวจหมู่เลือด
Direct Coomb’s test
:star: แนวทางการรักษา
หากรุนแรงจะต้องเปลี่ยนถ่ายเลือดระหว่างการตั้งครรภ์
หากอายุครรภ์ 32 wks กระตุ้นให้คลอด
:star: การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ติดตามภาวะ jaundice
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง
Rh Incompatibility
:star: สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์ Rh เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มีเม็ด
เลือดแดง
:star: พยาธิสรีรภาพ
เม็ดเลือดแดงที่มี Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดาทำให้เกิดการสร้าง antibodies ในแม่
:star: อาการและอาการแสดง
อาจเกิดหัวใจวาย ตัวบวมนํ้าที่เรียกว่า hydrops fetalis ซีดมากหรือเหลืองมากจนเสียชีวิต เกิด bilirubin toxicity
:star: ผลกระทบต่อทารก
เกิดภาวะ neonatal anemia
hydrops fetalis, ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia, kernicterus, dead fetus in uterus
still birth
:star: การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
การตรวจร่างกาย
ภาวะโลหิตจาง
อาการเพียงเล็กน้อย จนถึงซีด
มาก ตัวบวมน้ำ ตับม้ามโต และเหลืองเร็วมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับของ bilirubin
ผลการตรวจ Coombs’ test
ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือด
:star: แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization (Rh Isoimmunization)
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์
ตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ให้คำแนะนำให้์เข้าใจถึงแผนการรักษา
เจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
Thalassemia
:star: สาเหตุ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
ความผิดปกติทางปริมาณ
:star: ชนิดของโรคธาลัสซีเมีย
α-thalassemia
β-thalassemia
:star: พยาธิสรีรภาพ
ความผิดปกติของยีนทำให้การสังเคราะห์ α-globin และ β-globin ลดน้อยลงหรือไม่สร้างเลย ทำให้ globin ที่เหลืออยู่รวมตัวกันเอง แล้วตกตะกอนทำให้รูปร่างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ
:star: อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก
เสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือเสียชีวิตไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
บวมน้ำทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ่
อาการรุนแรงปานกลาง
ซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง
มีการเจริญเติบโตเกือบเหมือนคนปกติ
กลุ่มที่ไม่มีอาการ
กลุ่มที่เป็นพาหะ
:star: ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลต่อมารดา
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
เจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ำหนักน้อย หรือขาดออกซิเจนในระยะคลอด
:star: การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ ประวัติโรคเลือด
การตรวจร่างกาย
ภาวะซีด ตับและม้ามโต ตัวเหลือง ตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วิธีการตรวจคัดกรอง
(Screening test)
ชนิด α-thalassemia 1
และ β-thalassemia
การตรวจวัดขนาดเม็ดเลือดแดง ( MCV)
การตรวจวัดปริมาณฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง (MCH)
การทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง (OFT)
ชนิด Hb E
การทดสอบ Hb
KKU-DCIP clear kit
Hb E screen
วิธีการตรวจเพื่อวินิจฉัย
(diagnosis test)
การตรวจวิเคราะห์ชนิดของฮีโมโกลบิน (Hemoglobin analysis)
polymerase chain reaction (PCR)
(hemoblobin electrophoresis)
การตรวจระดับของ serum ferritin
:star: แนวทางการรักษา
ให้ความรู้ เกี่ยวกับ สาเหตุ อาการ
การให้เลือด
การให้ยาขับเหล็ก
การตัดม้าม
การปลูกถ่ายไขกระดูก
:star: การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
เกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
แนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด
ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคม
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์