Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระมหากษัตริย์ไทย, สมาชิก นายศิรสิทธิ์ ม. 5/3 เลขที่ 7 น.ส.อภิษฎา ม.…
พระมหากษัตริย์ไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์
1.เป็นจอมทัพไทยยามออกรบ
2.เป็นสัญลักษณ์ของชนชาติไทย
3.เป็นผู้ค้ำชูศาสนา
4.เป็นที่พึ่งทางใจของประชาชน
5.เป็นประมุขของประเทศ ไม่ว่าจะสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
หรือ สมัยประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
(รัชกาลที่ 8)
พระราชประวัติ
พระราชสมภพ
วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468
พระราชสมภพ ที่ ไฮเดิลแบร์ค สาธารณรัฐไวมาร์
การศึกษา
โรงเรียน
โรงเรียนมาแตร์เดอี
โรงเรียนเทพศิรินทร์
โรงเรียนมีเรมองต์
โรงเรียนนูแวลเดอลา ซูวิสโรมองต์
ราชตระกูล
พระราชบิดา : สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
พระราชมารดา : สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
พระเชษฐภคินี : สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
พระอนุชา : พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
วัดประจำรัชกาล
วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
สวรรคต
วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489
ณ ห้องพระบรรทม พระที่นั่งบรมพิมาน
โดยพระแสงปืน
พระราชกรณียกิจ
ด้านการปกครอง
พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2489
ทรงเยี่ยมชาวไทยเชื้อสายจีน ณ
สำเพ็ง (พร้อมด้วย รัชการที่ 9) ซึ่งเป็นการประสานรอยร้าวของความขัดแย้งกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีนจนเกือบเกิดสงครามกลางเมือง
ด้านศาสนา
ทรงปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ
ทรงนมัสการพระพุทธรูป ในพระอารามที่สำคัญหลายแห่ง
พระราชทานพระราขทรัพย์ บำรุงว้ด
ทรงเป็นพระบรมราชูปถัมภ์แก่ศาสนาอื่น
ด้านการศึกษา
ทรงเยี่ยมศถานศึกษาหลายแห่ง และหอสมุดแห่งชาติ
ทรงพระราชทานปริญญาบัตรที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์(ศิริราช)
รวมทั้งทรงมีพระราชปรารภให้มีการผลิตแพทย์เพิ่มมากขึ้น จึงถือกำเนิด คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทรงหว่านข้าว ณ แปลงสาธิต มหาวิทยาลังเกษตรศาสตร์ (พระราชกรณียกิจสุดท้าย ก่อนเสด็จสวรรคต)
สมาชิก
นายศิรสิทธิ์ ม. 5/3 เลขที่ 7
น.ส.อภิษฎา ม. 5/3 เลขที่ 14
นายณัชพล ม. 5/3 เลขที่ 17