Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การรักษาพยาบาลเบื้องต้นด้านปัจจุบันพยาบาล - Coggle…
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นด้านปัจจุบันพยาบาล
ภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรม
ช็อค (Shock)
สาเหตุหลักของภาวะช็อค
ภาวะช็อคคือ ภาวะที่มี poor tissueperfusion ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ
กล่าวคือ1) ภาวะที่เกิดจาก low perfusion
pressure
2) ภาวะที่เกิดจาก low cellular
oxygen
อาการ
กระสับกระส่าย ซีด
หนาว กระหายน้ำ อ่อนเพลีย
คลื่นไส้ อาเจียน
ชีพจรเบา เร็ว ความดันโลหิตตก
หายใจเร็วถี่ขึ้น ไม่สม่ำเสมอ
มือเท้าเย็น เหงื่อออก ปัสสาวะน้อย
หมดสติ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจเสียชีวิต
การช่วยเหลือและการรักษาเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว CABs ตรวจวัดสัญญาณชีพ
2.ให้ผู้ป่วยนอนราบและยกปลายเท้าสูงกว่าลำตัว 10-20 นิ้ว
ให้ออกซิเจนและให้ความอบอุ่น
ให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ(isotonic solution) เช่น NSS หรือ LactatedRinger's solution
ให้งดน้ำและอาหารทางปาก
ใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้เพื่อดูปริมาณปัสสาวะ
ชัก (Seizure)
การรักษา
ขณะชักให้ Diazepam (Valium) 10 มก.เข้าเส้นช้าๆ เนื่องจากยานี้กดการหายใจ ต้อง
สังเกตจั่งหวะและอัตราการหายใจอย่างใกล้ชิด
ให้ Phenytoin (Dilantin) 500 ม.ก. หยดให้
ทางเส้นเลือดดำช้าๆ นาทีละ 50 ม.ก. ยานี้กดการเต้นของหัวใจจึงต้องสังเกตการเต้นของ
หัวใจด้วย
ให้ Phenobarb ขนาด 15-50 ม.ก. (เด็ก) และ
50-100 ม.ก. (ผู้ใหญ่) กินวันละ 2-3 ครั้ง เพื่อคามคบลาการตักใบเระยะยเาา ยาขี้ใช้ได้ผลลี
สาเหตุของการชัก
ไม่ทราบสาเหตุ อาจเกิดจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ บาดเจ็บระหว่างคลอด โรค
หลอดเลือดสมอง
รอยโรคของสมองโดยตรง ได้แก่ สมองได้
รับการกระทบกระเทือนซึ่งอาจเกิดในระยะแรกหรือระยะหลังบาดเจ็บ เนื้องอกในสมอง
ทำให้ชักได้ถึงร้อยละ 10
ความผิดปกติทางชีวเคมี ที่พบบ่อย ได้แก่
น้ำตาลในเลือดต่ำ สมองขาดออกซิเจน ได้รับพิษตะกั่ว การขาดยาบางอย่าง (ยาระงับ
ซักหรือเหล้า ขาดสมดุลอิเล็กโตรไลท์
กวรช่วยเหลือและการรักษา
เบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว CABs
ดูแลระบบหายใจ ให้ออกซิเจน ทำทางเดินหายใจให้โล่ง ป้องกันสิ่ง
แปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ ถ้ามีเสมหะ เศษอาหาร หรือฟันปลอมให้เอาออก (ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ใน
การกดลิ้น)
นอนในที่ปลอดภัย นอนตะแคงหน้าไปด้าน
ใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันการสดสำลักและลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ
เป็นลม (Syncope/Fainting)
สาเหตุ: การอยู่ในที่ๆมีอุณหภูมิสูง เหนื่อย
จัด หิวจัด ออกกำลังกายหนัก ความเครียดวิตกกังวล ตกใจกลัว เสียเลือด เสียน้ำ เสีย
เกลือแร่ ได้รับบาดเจ็บรุนแรง ความดัน
การช่วยเหลือและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว CABs
พาเข้าที่ร่มอากาศถ่ายเทสะดวก
นอนราบไม่หนุนหมอน ยกปลายเท้าสูง
ถอดและคลายเสื้อผ้าให้หลวม
พัดหรือใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดหน้า มือ เท้า
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น จนมีภาวะระบบหายใจและระบบการไหลเวียนโลหิตไม่ทำ
งาน ต้องช่วยฟื้นคืนชีพ
สัตว์กัด
ล้างทำความสะอาดบาดแผล
บาดแผลเล็ก ทำแผล ใส่ยาและปิดแผล
ปวดแผล ให้ยาแก้ปวด
ควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน
-บาดทะยักทุกราย
พิจารณาฉีดวัคซีนป้องกันโรค
พิษสุนัขบ้าตามความเสี่ยงของสัตว์ที่กัด
แมลงกัดต่อย
รีบเอาเหล็กในออก
ประคบเย็นเพื่อบรรเทาปวด
ทาบริเวณที่ถูกกัดด้วยแอมโมเนียหรือครีมสเตียรอยด์
งูพิษกัด
ตรวจหารอยเขี้ยวงหรือฟันงู
รัดเหนือบาดแผล 2 เปลาะ คลายทุก 15นาที
เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ทำความสะอาดแผลรีบนำส่งโรง
พยาบาล
งูพิษที่มีปัญหาในประเทศไทย
งูที่ผลิตพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin)ได้แก่
งูเห่าไทย งูจงอาง งูสามเหลี่ยม และงูทับสมิงคลา
งูที่ผลิตพิษต่อระบบเลือด (hematotoxin)ได้แก่
งูแมวเซา งูกะปะ และงูเขียวหางไหม้
งูที่ผลิตพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ (myotoxin)
ได้แก่- งูทะเล ทำให้เกิด rhabdomyolysis
อื่นๆ
หลักการจำ
งูมีพิษต่อระบบประสาท: เห่า อาง สร้างประสาท ทับ สามเหลี่ยม
มีพิษต่อระบบเลือด: เขียว ปะ แมว กินเลือด
สารพิษ
ทางที่มีสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
ทางปาก โดย
การกิน
ทางหายใจ
ก๊าซพิษ ไอระเหย
ทางผิวหนัง ถูก
ดูดซึมเข้าทางผิวหนัง
การลดการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร
การทำให้อาเจียน (emesis)
การล้างท้อง ( gastric lavage)
การใช้ผงถ่าน activated charcoal
การใช้ยาระบาย(cathatics)
การทำ whole bowel irrigation
ภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรม
ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน และกระดูกหัก
ข้อเคล็ด (Sprains) เป็นการฉีกขาดของ
เส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อที่อยู่รอบข้อ
ข้อเคลื่อน (Dislocations) หมายถึงภาวะ
ที่ปลายกระดูกหรือหัวกระดูกที่มาชนกัน
ประกอบขั้นเป็นข้อ เคลื่อนออกจาก
ตำแหน่งเดิม ทำให้เยื่อหุ้มข้อนั้นมีการฉีกขาด หรือมีการยืดของเอ็นกล้ามเนื้อ
เส้นเลือด เนื้อเยื่อ เส้นประสาทบริเวณนั้นอาจมีการฉีกขาด
การช่วยเหลือและการรักษาพยาบาล
เบื้องต้น
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
ไม่ควรดึงให้เข้าที่เอง เพราะอาจจะทำให้ได้รับอันตรายมากขึ้น
ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ โดยอาจใช้ผ้าพยุงหรือดามไว้
พิจารณานำส่งโรงพยาบาล เพื่อการวินิจฉัยเพิ่มเติม
การตกเลือดและการห้ามเลือด
การตกเลือด (Bleeding) แบ่งออกเป็น
1.External bleeding มีเลือดออกมาภายนอกมองเห็นได้
2.Internal bleeding เลือดออกจากอวัยวะภายใน
ลักษณะของเลือดที่ออก
เลือดออกจากหลอดเลือดแดง(artery)
เลือดออกจากหลอดเลือดดำ(vein)
เลือดออกจากหลอดเลือดฝอย(capillary)
การช่วยเหลือและการพยาบาล
เบื้องต้น
ห้ามเลือด
ถ้ามีอาการเป็นลม หรือช็อก รักษาอาการ
เป็นลมและช็อก
ถ้ามีวัสดุชิ้นใหญ่ๆปักคาอยู่ อย่าดึงออก
ใช้ผ้าสะอาดปิดแผล และพันให้แน่น
กรณีสงสัยว่ามีการตกเลือดภายใน ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล
แผลไหม้ (Burn)
ประเภทของ แผลไหม้ ตามสาเหตุได้ 4
ประเภท
แผลไหม้จากความร้อน (Thermal
burn)
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า (Electrical
burn)
แผลไหม้จากสารเคมี (Chemical burn)
แผลไหม้จากรังสี (Radiation burn)
การช่วยเหลือและการรักษาเบื้องต้น
แผลฟกช้ำ ประคบเย็นทันที่ หลัง 24 ชม.ประคบอุ่น
แผลถลอก,ล้างทำความสะอาด ซับให้แห้งใส่ยาฆ่าเชื้อ
แผลตัด ทำความสะอาด ห้ามเลือดู เก็บชิ้นส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกแล้วแช่น้ำแข็ง refer
แผลฉีกขาด ทำความสะอาด ห้ามเลือด
แผลถูกยิง นอนนิ่ง NPO เปิดเส้นเลือด ให้
i.v. fluid ก่อนพิจารณา refer
แผลไหม้ ประคบเย็น ทำความสะอาดแผล
การจัดการความปวด ระวังช็อก
บาดเจ็บจากการเล่นก็ฬา (Sport
injury
การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นกล้ามเนื้อ
1.ตะคริว (Cramp/ เกิดจากการเกร็งตัวชั่วคราวของกล้ามเนื้อ การ
ปฐมพยาบาลโดยการหยุดการออกกำลังกายทันที ค่อยๆเหยียดกล้ามเนื้ออย่างช้า
ๆ ใช้ความร้อนประคบ
2.กล้ามเนื้อบวม (Compartment
syndrome ) เกิดจากการซ้อมหนักเกินไป ทำให้มีการคั่งของน้ำนอกเซลล์
กล้ามเนื้อ จะเกิดอาการปวดตึงที่กล้ามเนื้อ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ในระยะแรก 24-48 ชั่วโมง ให้ใช้หลัก
"RICE"
ในระยะที่สอง หลัง 24-48 ชั่วโมง ให้ใช้
หลัก "HEAT"
บาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก ( primary
head injury ) เป็นการบาดเจ็บที่เกิดทันทีที่มีแรงกระทบต่ออวัยวะชั้นต่างๆทำให้เกิดอันตราย
ต่อ1.หนังศีรษะ
(scalp)2.กะโหลกศีรษะ
(skull)3.สมอง (brain)
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง (secondary head injury ) เป็นภาวะ เป็นภาวะ
แทรกซ้อนที่เกิดหลังจากการบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก โดยใช้ระยะเวลาเป็นนาที
ชั่วโมง หรือเป็นวัน
การพยาบาลในภาวะฉุกเฉิน Her
lajuy
ประเมิน CABD
ประเมินสภาพทั่วๆไป เช่น Vital signบาดแผล
การเตรียมยาที่มักใช้ในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
การให้ I.V. fluid, Oxegen
Dexamethasone
Mannital 20%
ยากันชัก เช่น Diazepam
กระดูกหัก (Fracture)
กระดูกหักชนิดธรรมดา (Simple
fracture หรือ Closed fracture)
กระดูกหักชนิดซับซ้อนหรือมีบาดแผล
(Compound fracture หรือ Opened fracture)
สาเหตุ
จากแรงกระแทกโดยตรงต่อตัว
กระดูก
จากแรงกระแทกทางอ้อม
เกิดจากกล้ามเนื้อหดตัวหรือกระตุกอย่างแรง
การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ต้องรีบช่วยการ
หายใจก่อน
ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ช็อก รีบแก้ไขภาวะ
ช็อคก่อน
ถ้ามีเลือดออกมาก ต้องห้ามเลือดก่อน
ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหวน้อยที่สุด ดามหรือเข้าเฝือกชั่วคราว
ถ้ามีกระดูกหักโผล่ออกมาห้ามดันกลับ ให้ใช้ผ้าส์ะอาดปิดแผลไว้
ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี และปวดมาก ให้ยาแก้ปวด
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยทาง ตา หู คอ และจมูก
ตา
ลืมตาในน้ำสะอาดและกรอกตาไปมา
หรือล้างตาด้วย NSS
ดึงหนังตาบนลงมาทับหนังตาล่าง
ตรวจหาสิ่งแปลกปลอม ใช้มุมผ้าสะอาด
หู
กรณีเป็นสิ่งมีชีวิต และเยื่อแก้วหูไม่ทะลุ ใช้น้ำมันมะกอกหรือแอลกอฮอล์ 70% หรือglycerine boraxหยอดเข้าหู เพื่อให้แมลงเข้าหู เพื่อให้แมลงลอยขึ้นมา
ถ้ามองเห็นตัวแมลง
อาจคีบออกได้
คอ
Heimlich maneuver
นอนหงายกดท้อง กรณีหมดสติ
กรณีเด็กเล็ก นอนคว่ำบนตักศีรษะต่ำ
ตบกลางหลังเบาๆ
จมูก
ถ้ามองเห็นให้คีบ
ออก โดยใช้nasal forceps
ถ้ามองไม่เห็นและผู้ป่วยไม่ให้
ความร่วมมือ