Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
🤰🏼✨🌈💯❤️🔥❌🚑🏥
ไส้ติ่งอักเสบ (appendicitis) 🤒
คือ
พบได้ประมาณร้อยละ 0.06-0.2
มักทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนกับการตั้งครรภ์
พบในไตรมาสที่ 2
เสี่ยงมากในไตรมาสที่ 3 เพราะมดลูกโต จะคลำหาตำแหน่งอักเสบยาก
มารดาอาจได้รับอันตราบจากการ ผ่าตัดและการวินิจฉัยที่ล่าช้าช้าร้อยละ 4 และทารกเสียชีวิตร้อยละ 35
อาการอาการแสดง
เบื่ออาหาร
ปวดตื้อๆ ตลอดเวลาหรืออาจปวดมากเป็นพักๆ
ท้องผูก หรือท้องเสีย
ไข้ 38.3 C
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
LAB
การตรวจพิเศษ
แนวทางการรักษา
วินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากโรคอื่น
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด laparotomy เพื่อทำ laparoscopic
ทำตอนไตรมาสที่ 1,2
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis) ในไตรมาสที่ 3
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ appendectomy ในไตรมาสที่ 3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug)
ป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำดีอักเสบ (cholecystitis) 🤢
คือ
พบ ร้อยละ 0.02-0.16
ขณะตั้งครรภ์ การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดีไม่ดี
จากการเพิ่มขนาดของมดลูก
ทำให้เกิดแรงดัน และกดเบียด จนทำให้เกิดการหนาตัวของ Muscle tone
ความยืดหยุ่นของน้ำดีลดลง
มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน ที่มีภาวะ Hypercholesterolemia
พบได้ในมารดาอายุมาก , มีประวิติการอับเสบของถุงน้ำดี
สาเหตุการอักเสบส่วนใหญ่เกิดจากการอุดตัน ของถุงน้ำดีจากการเกิดนิ่ว และอาจเกิดภาวะ Pancreatitis
อาการอาการแสดง
มีอาการปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียน หลัง รับประทานอาหารที่มีไขมัน มีไข้ และตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายพบ colicky sign ปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or
epigastrium
LAB
CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
U/A อาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
การตรวจพิเศษอื่นๆ
เช่น Radiographic diagnostic
การรักษา
NPO
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การทำ Laparoscopic for cholecystectomy/ cholecystectomy
ปลอดภัยหากทำไตรมาส 2 เพื่อทารกแบ่งตัวสมบูรณ์แล้ว
มดลูกมีขนาดไม่ใหญ่มากและ
ไม่เสี่ยงต่อการแท้ง
4.ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
ให้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum ครอบคลุมกลุ่ม ß-lactam
ตั้งครรภ์ไตร
มาสที่หนึ่งห้ามให้ chloramphenicol และ tetracycline
ไตรมาสที่สาม ห้ามให้ยากลุ่ม sulfa
ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (antispasmodics)
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก tocolytic therapy
ภาวะลำไส้อุดกั้น (bowel obstruction) 🥺
ปัญหาเกี่ยวกับการอุดกั้นของลำไส้ในสตรีตั้งครรภ์พบได้ 1:1,500 – 66,500 ราย
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลำไส้จากพังผืด (adhesions)
การบิดของลำไส้ (volvulus)
การตีบ ก้อน
เนื้องอก หรือไส้เลื่อน
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก (constipation) ถ่ายยาก ถ่ายลำบาก ถ่ายไม่ออก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน 🤮
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
ปวดบิดท้องเป็นพัก ๆ
LAB
เช่น WBC, electrolyte, X-Ray, MR
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อ มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
Fluid and electrolyte imbalance
ช็อก และเสียชีวิต
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
Spontaneous abortion
Fetal distress & fetal death
Shock and death
การรักษา
NPO
Nasogastric tube
ระบาย gastric content
Intravascular fluid
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
Oxygen 4 lit/min
7.Laparotomy : หลังการท าอาจพบว่าเกิด
adhesion ซึ่งนำไปสู่การ C/S ภายหลัง
Pre & post operation nursing care ดูแลหากเกิดท้องผูก
ดูแลระวังเกิดซ้ำ
ป้องกันติดตาม ภาวะลำไส้ตาย
ถุงน้ำรังไข่ (ovarian cyst) 🤖
พบได้บ่อย โดยเฉพาะไตรมาสที่หนึ่งและสองของการ
ตั้งครรภ์
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์
พบภาวะของ ovarian cyst ที่โตขึ้น ร่วมกับภาวการณ์ติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห
ก้อนเนื้อนั้นกลายเป็นมะเร็งรังไข่ได้ 1:25,000
รายของการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
Ascites
การวินิจฉัย
U/A: stable or slightly increasing
CBC: WBC slightly increasing
U/S
MRI
การรักษา
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic)
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
หากวินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มาก พิจารณาผ่าคลอดทางหน้าท้อง
หากผลการชันสูตรพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่ และมารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด งดbreast
feeding
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (myoma uteri) 🤰🏼
Myoma เนื้องอกที่หนาตัวเป็นก้อน
Adenomyosis เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด
อาการและอาการแสดง
ทราบก่อนการตั้งครรภ์ไม่ค่อยแสดงอาการ
ปวดท้องโดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุ
ครรภ์ที่เพิ่มข
พบภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ
ตรวจครรภ์พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุ
ครรภ์
คลำท่าทารกได้ยาก
การวินิจฉัย
U/S
MRI
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ปวดท้องรุนแรง
ระยะคลอด
คลอดยาก
มีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี
ตกเลือดหลังคลอด
Hysterectomy
การรักษา
Laparoscopic
Myomectomy
ทำเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
Specimen for pathology investigation
หากก้อนไม่ใหญ่ ไม่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ สามารถมีการตั้งครรภ์ต่อไปจนคลอด
C/S ในระยะคลอด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด(nursing care among pregnancy with surgery) 🤰🏼
การประเมินทางการพยาบาล
1.ซักประวัติ , 2. ตรวจร่างกาย , 3. LAB , 4. ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ , 5. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
NPO
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM (electro fetal monitor)
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลขณะผ่าตัด
ระวังเกี่ยวกับposition ในการผ่าตัดของมารดา
อาจมีการกดทับเส้นเลือด vanacava
เตรียมออกซิเจน (8-10 lit/min)
ให้ทันที่ระหว่างการผ่าตัดที่พบว่า FHS ลดลง
On EFM เพื่อประเมิน FHS และ Ut. contraction
มดลูกขาดเลือดไปเลี้ยงขณะ
ผ่าตัด จากการเสียเลือดของมารดา
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
การพยาบาหลังผ่าตัด
General P/O obs.
2.Ut. contraction
FHS + EFM
Tocolysis กรณีมี preterm labor
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ
ให้ความรู้ในสิ่งที่จำเป็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวภายหลังการผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การได้รับอุบัติเหตุและบาดเจ็บ (trauma during pregnancy) 🚑
ส่วนใหญ่มักเป็นการบาดเจ็บที่ได้รับผลกระทบจาก
ยานพาหนะ
ชนิดของกำรบำดเจ็บที่พบระหว่างกำรตั้งครรภ์
ปัญหาความรุนแรง
บาดเจ็บทางร่างกายและทางเพศขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
เช่น รถชน
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
Spontaneous abortion
Preterm labor
Abruption placenta
Still birth
Death fetus in utero
พยาธิวิทยา
Head injury
ทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ มารดาจะเสียเลือดมาก ทารกอาจเสียชีวิต
ทารกมักเสียชีวิตจากการแตกของกะโหลกศีรษะ
Retroperitoneal hemorrhage
กระทบกระเทือนของช่องท้องส่วนล่างและระบบอวัยวะสืบพันธุ์
Abruptio placenta
Pelvic fracture
Uterine rupture
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับกำรบำดเจ็บ
Immediate care
การพยาบาลควรคำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
ช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
ทีมให้การพยาบาลต้องทำการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์ และมี
ประสิทธิภาพ
Major trauma
ในการช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพสำเร็จ ประเมินสภาพร่างกายทั่วไป
กรณีที่สตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ ควรประสานงานทีมต่างๆ ช่วยเหลือ
ให้การดูแลตามกระบวนการเศร้าโศกและสูญเสีย (Grief and loss support)
การจำหน่ายสตรีตั้งครรภ์เพื่อกลับบ้าน
การสังเกตอาการเลือดออกหรือมีสารคัดหลั่งออกจากแผล
การดิ้นของทารกในครรภ์
Signs and symptom of preterm labor
Signs and symptom PROM
Signs and symptom placenta abrubtion
หากการบาดเจ็บเกิดจากอุบัติเหตุ แนะนำการคาดเข็มขัดนิรภัย
หากเกิดจากการถูกกระทำความรุนแรงควรแนะนำเกี่ยวกับวงจรการเกิดความรุนแรง
แนะนำแหล่งช่วยเหลือเมื่อฉุกเฉิน
Minor trauma
ต้องประเมินภาวะ
Bleeding/vg uterine irritability
Abdominal tenderness, abdominal pain or cramps
Hypovolemia
FHR เปลี่ยนแปลง
Fetal activity หายหรือลดลง
Leakage of amnioticfluid
fetal cell ใน maternalcirculation
การช่วยฟื้นคืนชีพสตรีตั้งครรภ์ (pregnancy resuscitation) 🤰🏼❤️🔥
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทำการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
2.1 การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา (maternal interventions)
ช่วยเหลือในการช็อคไฟฟ้า (defibrillation) ทันที
ให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาให้ถูกต้อง
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
รับการติด Monitor waveform capnography
ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR
ให้ IV fluid เหนือ diaphargm
ประเมินภาวะ Hypovolemia ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลและจัดการให้ท่อทางเดินหายใจโล่ง
กรณีที่สตรีตั้งครรภ์ได้รับ MgSo4 ทางหลอดเลือดดำ ให้ทำการหยุดทันที
ให้
Calcium chloride 10 ml ใน 10% solution
calcium gluconate 30 ml. ใน 10%
solution
ระหว่างและหลังการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง
ดูแลและให้การพยาบาลอย่าง
ต่อเนื่อง
2.2 การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์ (Obstetric interventions)
นวดหัวใจด้วยมือ โดยจัดให้มดลูกเลื่อนขึ้นไปด้านบนซ้ายของลำตัว
ถอด internal และ external fetal monitors ออกก่อน
2.3 การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพไปแล้วเป็นเวลา 4 นาที
ไม่พบสัญญาณชีพปรากฏ
ให้ทำการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันที
ตั้งเป้าหมายให้คลอดภายใน 5 นาที นับจากเวลาที่เริ่มช่วยฟื้นคืนชีพ
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (BEAU-CHOPS)
จัดทำโดย นางสาวพลินี จำปา 6201210378 21A
🥺❤️🔥🌈✨💯👼🏻👀🤖