Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
image ปีเตอร์…
ปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์ดรักเกอร์
ชีวประวัติ
กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย
แต่งงาน ดอริส ชมิตซ และได้ย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา
เกิดวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1909
ค.ศ. 1943 ดรักเกอร์โอนสัญชาติเป็นพลเมืองของอเมริกา
ประวัติการทำงาน
นักเขียนข่าวให้กับหนังสือพิมพ์ Der Osterreichische Volkswirt
ค.ศ. 1993 ได้เดินทางออกจากเยอรมันไปยังอังกฤษทำงานในบริษัทประกัน
เริ่มฝึกทำงานที่บริษัทค้าฝ้าย
ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยวิทยาลัยเบนนิงตันที่สหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1942 ถึง 1949
ศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ช่วงปี ค.ศ. 1950 ถึง 1971
ศาสตราจารย์พิเศษด้านสังคมศาสตร์ กับ การจัดการ ที่มหาวิทยาลัยแคลมอนต์เกรดูเอท
แนวคิดพื้นฐาน
บริษัทที่มีการทำงานที่ดีที่สุด ก็ต่อเมื่อมีการกระจายอ านาจ
ความรู้ในห้องเรียนตอนนั้น ไม่สามารถอธิบายถึงลักษณะสำคัญของเศรษฐกิจสมัยใหม่
กระจายอำนาจและการทำให้เข้าใจง่าย
สอนให้รู้ว่าผู้คนต่างเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์กร
7 แนวคิด Peter Ferdinand Drucker
แนวคิดว่าด้วยแรงงานสมอง (Knowledge workers)
แรงงานสมองมีผลโดยตรงจากการ
ปฏิวัติเทคโนโลยีครั้งสำคัญ
โดยเฉพาะการเกิดขึ้นของ “คอมพิวเตอร์”
เปลี่ยนจากการใช้แรงงานร่างกายมาเป็นแรงงานจากแรงงานสมอง
มองเป็น “มืออาชีพ” มิใช่ “ลูกจ้าง” แบบ
“นาย” กับ “บ่าว”
แนวคิดว่าด้วยสังคมแห่งความรู้ (Knowledge Based Society)
2) ความรู้ช่วยให้คนเลื่อนสถานะของตนเองได้
3) ความรู้ให้ทั้งโอกาสประสบความสำเร็จและความล้มเหลว
1) ความรู้ไม่มีพรมแดน
แนวคิดว่าด้วยการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ (Professional management)
หน้าที่แรกของผู้บริหารก็คือทำอย่างไรให้องค์กรมีผลการ
ดำเนินงานที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่
แนวคิดว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของประชากร (Demographic Change)
อัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรโลกในอนาคตนั้นเป็นปัจจัยสำคัญที่ไม่อาจคาดการณ์หรือควบคุมได้เลย
แนวคิดว่าด้วยการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization)
ให้รัฐขายองค์กรรัฐวิสาหกิจให้แก่เอกชนเป็นผู้ดำเนินการแทน
แนวคิดว่าด้วยการศึกษาต่อเนื่องแบบออนไลน์ (Webeducation)
การศึกษานั้นจะมาในรูปแบบใหม่ไม่ใช่การศึกษาในห้องเรียน
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการที่ต้องมีวัตถุประสงค์ (Management by Objectives - MBO)
เน้นให้แต่ละองค์กรสร้างทีมงานที่เป็นทีมงานเฉพาะ แต่ก็มีวัตถุประสงค์เดียวกัน
ทฤษฎีของ Peter Drucker
ทฤษฎีการจัดการองค์กรยุคใหม่ Change management
ทฤษฎีการบริหารจัดการคนในองค์กร
กลุ่มที่เป็นแรงงานทักษะ
กลุ่มที่เป็นแรงงานมีความรู้
ทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่ ของ Peter F. Drucker
การจัดองค์กร (Organizing) มอบหมายงานให้บุคลากรในแผนกหรือฝ่าย
การนำ/จูงใจ (Leading)
จัดโครงการสัมมนาบุคลกรหรือกิจกรรมที่ให้บุคลากรได้ร่วมสนุก สร้างสรรค์กิจกรรม ร่วมใช้ความคิดแก้ปัญหา
การวางแผน (Planning) “ปฏิทินโรงเรียน”
การควบคุม (Controlling)
1) รวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบผล
การดำเนินงาน
2) เปรียบเทียบผลงานปัจจุบันกับเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้
3) ทำการตัดสินใจไปตามเกณฑ์หรือไม่
หลักการบริหารจัดการคนในองค์กร เสนอแนวคิดหลักการบริหาร 5 ประการ
จัดระบบ นักบริหารจัดการต้องบอกได้ว่างาน (task)
กระตุ้น นักบริหารจัดการต้องกระตุ้น (motivate)
ตั้งวัตถุประสงค์ นักบริหารจัดการมีหน้าที่ตัดสินใจว่างานนี้ต้องการทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ใด
วัดความสามารถในการทำงาน (performance) ด้วยการสร้างหน่วยวัดขึ้นมาเพื่อดูว่าแต่ละคนมีความสามารถในการทำงานมากน้อยเท่าใด
พัฒนาตนเองและผู้อื่น นักบริหารจัดการต้องไม่หยุดนิ่ง เขาต้องหมั่นหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองและคนรอบข้างอยู่เสมอ
ประวัติการศึกษา
ปริญญาเอกด้านกฎหมายจากมหาวิทยาลัยแฟรงก์เฟิร์ต