Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute decompensated heart failure(ADHF) - Coggle Diagram
Acute decompensated heart failure(ADHF)
สาเหตุ
Acute Left-sided Heart Failure หัวใจล้มเหลวข้างซ้ายเรื้อรัง
สาเหตุ
มี 2 สาเหตุหลัก คือ ความผิดปกติของหัวใจ และจากการที่หัวใจทำงานหนักจากโรคอื่น ดังนี้
จากกรณีศึกษาเกิดจากความผิดปกติของหัวใจ
Infective endocarditis (IE) เยื่อบุหัวใจอักเสบ
อาการและอาการแสดง
จากทฤษฎี
ผู้ป่วยมักมีอาการแบบไม่เฉพาะเจาะจงมีกลุ่มอาการ (constitutional symptoms) ได้แก่ ไข้หนาวสั่นเหงื่อออกอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีเหงื่อออกตอนกลางคืน อาจมีอาการหอบเหนื่อยนอนราบไม่ได้ หรืออาการที่บ่งถึงภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
อาจพบอาการปวดตามข้อปวดกล้ามเนื้อ
มีอาการทางระบบประสาทสับสนมึนงงไม่รู้สึกตัว
ตรวจร่างกายพบไข้สูง (38 ° C) พบเสียง heart murmur
อาจพบม้ามโตหรือฝีที่ม้ามไตหรือตับได้พบการเกิดลิ่มเลือดอุดตันหรือมีจุดเลือดออก
จากกรณีศึกษา
3 เดือนก่อนมีไข้สูง เจ็บแน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม
กลไกการเกิดโรค
มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจส่วนใดส่วนหนึ่ง/ หลอดเลือดบริเวณนั้นมีการไหลเวียนเลือดผิดปกติ
มีแรงฉีดเลือดมากกว่าปกติทำให้เยื่อบุบางส่วนถูกทำลายจน collagen ของเนื้อเยื่อสัมผัสกระแสเลือด
1 more item...
Sever MR (โรคลิ้นหัวใจ)
อาการและอาการแสดง
จากทฤษฎี
ไม่มีอาการ แต่ตรวจร่างกายพบเสียงผิดปกติหรือเอกซเรย์ปอดผิดปกติ
หายใจติดขัด สมรรถภาพในการทำงานและออกกำลังกายลดลง
นอนราบไม่ได้ (orthopnea) หรือลุกขึ้นหายใจหอบตอนกลางคืน(paroxysmal nocturnal
dyspnea - PND) มีลักษณะอาการเข้าได้กับกลุ่มอาการหัวใจล้มเหลว (left-sided heart failure syndrome) เนื่องจากความดันในปอดสูงมาก
ตัวบวมขาบวม ตับโต ท้องอืด เข้าได้กับกลุ่มอาการ right-sided heart failure
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เนื่องจากมี cardiac output ต่ำลงในระยะหลังๆ ของโรค
หน้ามืด เป็นลมเมื่อออกกำลังกาย เจอในกลุ่มลิ้นหัวใจตีบมากกว่าลิ้นหัวใจรั่ว
จากกรณีศึกษา
1 เดือนมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยง่ายหลังทำกิจกรรมที่ต้องออกแรงหนักๆ เท้า 2 ข้างบวม ปัสสาวะออกน้อย
กลไกการเกิดโรค
การที่ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิทเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวจะทำให้มีเลือดถูกบีบย้อนกลับไปที่ห้องบนซ้ายได้ด้วยทำให้ความดันในห้องหัวใจห้องบนซ้ายสูงขึ้นทำให้ความดันในระบบไหลเวียนปอดเพิ่มและลิ้นหัวใจไมทรัลรั่ว
สาเหตุจากการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ทำให้เกิดความผิดปกติของหัวใจ
เมื่อ 30 ปีก่อน สูบบุหรี่จัด วันละ 20 มวน เลิกสูบได้ 3 เดือน ตั้งแต่เข้าโรงพยาบาล
อาการและอาการแสดง
จากทฤษฎี
น้ำท่วมปอด Pulmonary edema นอกจากนั้นยังทำให้เกิดอาการ เหนื่อย หายใจหอบ และบวมที่เท้า
จากกรณีศึกษา
มีอาการหายใจไม่อิ่ม เจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยง่ายหลังทำกิจกรรมที่ออกแรงหนักๆ เท้าทั้ง 2 ข้างบวม
กลไกการเกิดโรค
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างชายบีบตัวลดลงทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลงจะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
จะส่งผลให้เลือดเหลือค้างในหัวใจห้องล่างซ้ายมากขึ้นความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายจึงสูงขึ้น
ดังนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างซ้ายน้อยลงปริมาตรเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ
เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายได้น้อยลงเป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นทำให้ของเหลวออกจากหลอดเลือดฝอยที่ปอดเข้าสู่ถุงลมทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอดหอบเหนื่อยไอและเขียว
อาการและอาการแสดง
จากทฤษฎี
ออกแรงหรือออกกําลังกายได้น้อยลง
นอนราบไม่ได้ (orthopnea)
หายใจหอบเหนื่อยหลังนอนหลับ (PND)
JVP สูง(Jugular venous pulse)หลอดเลือดดำ สามารถใช้เพื่อการวินิจฉัยแยกโรคหัวใจและปอด
พบเสียง S3 gallop
ตรวจพบ apical impulse ออกด้านข้าง(lateral shifted apical impulse)
บวมตามแขนขา (extremity edema)
จากกรณีศึกษา
หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้
ฟังปอดพบเสียง Crepitation
ฟังเสียงหัวใจพบ Thill,Heaving
เท้า 2 ข้างบวม ปัสสาวะออกน้อย
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดสมอง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน vital signและEKG monitoring ทุก 2ชั่วโมง
ประเมิน Neuro signs ทุก 2 ชั่วโมง
ควบคุมระดับความดันโลหิต ในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค
จัดท่านอนศีรษะสูง 45 °C
ให้ยาสลายลิ่มเลือด (Warfarin) ตามแผนการรักษาของแพทย์ และติดตามผลข้างเคียงของยา
เสี่ยงต่อการพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก ๆ 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจและO2 sat
ประเมินภาวะ Cyanosis คือ หายใจเหนื่อยหอบริมฝีปาก เล็บมือเล็บเท้าไม่มีสีเขียวคล้ำ
จัดท่านอนศีรษะสูง (fowler’s position)เพื่อให้ปอดได้ยืดขยายได้เต็มที่
ลดการใช้ออกซิเจน ให้bed rest รวบกิจกรรมการพยาบาลมาทำพร้อม ๆกัน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา/ให้ยาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
เสี่ยงต่อภาวะนํ้าเกิน เนื่องจาก ความบกพร่องในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจจากการมีภาวะหัวใจล้มเหลว
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะนํ้าเกินในร่างกาย
และให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษาและบันทึกจํานวน นํ้าเข้าและออกทุก 8 ชั่วโมง
ติดตามสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอพร้อมทั้งสังเกตฤทธิ์ข้างเคียงจากยาขับ ปัสสาวะ
เยื่อบุหัวใจติดเชื้อ เนื่องจากฟันผุ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตน ภายหลังการสอนการดูแลสุขภาพฟัน
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเป็นมื้อ ไม่กินจุบจิบ
เพื่อลดการตกค้างของเศษอาหาร อาหารว่างควรเลือกอาหารประเภทธัญพืชและผลไม้
แนะนำให้ผู้ป่วยเลือกแปรงฟันที่มีขนอ่อนนุ่ม และสอนวิธีการแปรงฟันโดยแนะนำให้ขจัดคราบอาหารและจุลินทรีย์ที่ตกค้างโดยการแปรงฟันและกวาดแปรงสีฟันลงบนผิวลิ้น
การแปรงฟัน ช่วยกำจัดเศษอาหารและคราบสิ่งสกปรกตามฟัน ซึ่งเกิดจขึ้นจากการรวมตัวกันของเชื้อแบคทีเรียภายในช่องปาก
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
กลไกการเกิดโรค
หัวใจไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดไปให้ร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
มีกลไกชดเชยทำให้เกิดกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติก
ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นหลอดเลือดแดงและดำหดตัวเพื่อเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
มีการกระตุ้นระบบเรนินคอนจิโอเทนซินแอลโตสเตอโรสทำให้มีการคั่งของน้ำเกลือ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวอย่างผิดปกติเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาที แต่การทำให้หลอดเลือดที่ร่างกายหดตัวมีผลทำให้หัวใจทำงานเพิ่มขึ้น
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานหนักจึงเกิดการทำลายหน้าที่การบีบตัวของหัวใจในที่สุด
การวินิจฉัยจากการวอเคราะห์กรณีศึกษา
การตรวจร่างกาย
ผิวหนังและเล็บ
(skin and nail) การคลำ: เท้าทั้งสองข้างกดบุ๋ม 3+
ปากและลำคอ
(Mouth and Throat) การดู : พบฟันผุ 3 ซี่
ทรวงอกและปอด
(Thorax and Lung) การดู : หายใจหอบเหนื่อยไม่สม่ำเสมอ นอนราบไม่ได้ต้องหนุนหมอนไขหัวสูง 90 องศา
การฟัง : พบเสียง Crepitation Broth Lung
หัวใจและหลอดเลือด
(cardio and Vascular) การดู : มีหัวใจกระแทกกับผนังหน้าอก (heaving)
การคลำ : พบเสียง Thill
ระบบประสาท
(Neurological system) การดู : รู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง
การตรวจพิเศษ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(Electrocardiogram : EKG,ECG)
No tall peak T ไม่พบคลื่น T wave หรือมีภาวะ Hypokalemia