Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO (ABO Incompatibility)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
หมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดา
พยาธิสรีรภาพ
มารดาหมู่เลือด O มักจะมี anti-A และ anti-B ชนิด IgG บ่อยกว่ามารดาหมู่ เลือด A หรือ B
anti-B ในมารดาที่มีหมู่เลือด A หรือ subgroup A2 เป็นสาเหตุให้ทารกหมู่ เลือด B เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกได้
ทารกหมู่เลือด A1 B มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตกอย่างรุนแรง หลังคลอดจากมารดาหมู่เลือด B
anti-A มักจะเป็นสาเหตุของภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในทารกแรกเกิดได้บ่อยกว่า anti-B1 ชนิดของ IgG
อาการและอาการแสดง
อาการตัวเหลือง
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกหากไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ kernicterus
หากรอดชีวิตมักเกิด
mental retard
แนวทางการประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Total bilirubin
ตรวจนับเม็ดเลือด
ตรวจหมู่เลือด ของมารดาและทารกแรกเกิด
Direct Coomb’s test
แนวทางการรักษา
ระหว่างตั้งครรภ์ยังไม่จำเป็น หากรุนแรงอาจต้องเปลี่ยนถ่ายเลือดในระหว่างการตั้งครรภ์
GA 32 Wks. การกระตุ้นให้คลอด
ทารกเเรกเกิดอาจรับการส่องไฟ (phototherapy)
การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ ประวัติการตั้งครรภ์และคลอด
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการ ตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด หากตรวจพบภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh (Rh Incompatibility)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์
พยาธิสรีรภาพ
เกิดขึ้นเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive
ในขณะ ตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงที่มี Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดา ทำให้เกิดการสร้าง antibodies
antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์ และ antibodies เหล่านี้จะไปจับและทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก
อาการและอาการแสดง
ทารกมีhemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีด
ดหัวใจวายตัวบวมนํ้าที่
เรียกว่า hydrops fetalis
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
-ทารกเกิดภาวะ neonatal anemia
-hydrops fetalis
-ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia
-kernicterus, dead fetus in uterus
-still birth
การประเมินและวินิจฉัย
1 ซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
2 ตรวจร่างกาย
3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับของ bilirubin
ผลการตรวจ Coombs’ test
การตรวจความเข้มข้นของเลือด
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization (Rh Isoimmunization)
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของทารก
1 การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ เพื่อตรวจหาหมู่เลือด Rh typing ทุกราย
2 ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
3 ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
สาเหต
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
ความผิดปกติทางปริมาณ
พันธุกรรม
ชนิดของโรคธาลัสซีเมีย
α-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มีการสร้าง α-globin น้อยลง
β-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มีการสร้าง β-globin น้อยลง
พยาธิสรีรภาพ
คนปกติร่างกายจะมี α-globin และ β-globin อยู่ในสัดส่วนที่สมดุลกัน
เมื่อมีความผิดปกติของ ยีนทำให้การสังเคราะห์ α-globin และ β-globin ลดน้อยลงหรือไม่สร้างเลย
จะทำให้ globin ที่ เหลืออยู่รวมตัวกันเอง แล้วตกตะกอนอยู่ในเม็ดเลือด
ทำให้เลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ ขาดความยืดหยุ่นผนังของเม็ดเลือดแดงถูกทำลายง่าย
เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการซีด ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับม้ามโต ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงทดแทนตลอดเวลา
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major) คือ homozygous α-thalassemia (Hb Bart’s hydrop fetalis)
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate) ได้แก่ Hb H, α-thalassemia/Hb CS
กลุ่มที่ไม่มีอาการ (thalassemia minor) ได้แก่กลุ่มที่เป็นพาหะ และกลุ่ม homozygous Hb E, homozygous Hb CS
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ความต้านทานต่ำ เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ คลอดยาก อาจตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ำหนักน้อย หรือขาด ออกซิเจนในระยะคลอด และอาจได้รับการถ่ายทอดความผิดปกติของโครโมโซมทำให้เป็นโรคหรือเป็นพาหะ
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ เกี่ยวกับโรคโลหิตจางในครอบครัว ประวัติโรคเลือด หรือโรคทางพันธุกรรม
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจ CBC, blood smear
วิธีการตรวจคัดกรอง (Screening test)
-ตรวจวัดขนาดเม็ดเลือดแดง MCV
-การตรวจวัดปริมาณฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง MCH
-การทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดงOFT
1 การตรวจคัดกรองเบื้องต้นสำหรับพาหะชนิด α-thalassemia 1 และ β thalassemia
2 การตรวจคัดกรองเบื้องต้นสำหรับพาหะชนิด Hb E
-การทดสอบ Hbด้วยDCIP
-KKU-DCIP clear kit
-Hb E screen
วิธีการตรวจเพื่อวินิจฉัย (diagnosis test)
Hemoglobin analysis
PCR
hemoblobin electrophoresis
serum ferritin
การประเมินความเสี่ยงของคู่สมรส
แนวทางการรักษา
การให้ความรู้
ทางเลือกของคู่สมรสที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดที่รุนแรง
การให้เลือด เพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะซีด
การให้ยาขับเหล็ก
การตัดม้าม
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การพยาบาล
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด และให้สตรีตั้งครรภ์และสามีตัดสินใจว่าจะ ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อไปหรือยุติการตั้งครรภ์
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัด กรองหาพาหะธาลัสซีเมีย
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการ ป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ การรับประทานยาตามแผนการรักษา การมาตรวจตามนัด และหากมีอาการผิดปกติควรมาพบแพทย์ทันที