Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาและภาษาศาสตร์ - Coggle Diagram
ภาษาและภาษาศาสตร์
สาขาของภาษาศาสตร์
ภาษาเฉพาะสมัย
ศึกษาในช่วงใดช่วงหนึ่ง
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ/ต่างสมัย
ศึกษาต่างเวลาเพื่อดูวิวัฒนาการของภาษา
การศึกษาเฉพาะตัว
สรวิทยา
ศึกษาเกี่ยวกับเสียงพูดและการเปลี่ยนแปลง
กลสัทศาสตร์
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะกายภาพของเสียง
สรีรสัทศาสตร์
ศึกษาเกี่ยวอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเปล่งเสีง
โสตสัทศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับการได้ยินเสียง และการรับรู้
สรศาสตร์
ศึกษาความสำคัญของเสียงและที่มาว่าเป็นเสียงเดียวกันหรือเสียงแยกกัน
ศัพทวิทยา
ศึกษาระบบคำการสร้างคำในภาษา
วากยสัมพันธ์
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของประโยคว่ามีการเรียงอย่างไร
วจนวิเคราะห์
ศึกษาเกี่ยวกับระบบบของข้อความ
อรรถศาสตร์
ศึกษาเกี่ยวกับข้อความของหน่วยเสียง
การศึกษาที่สัมพันธ์กับภาษาอื่น
ภาษาศาสตร์เชิงสังคม
ศึกษาภาษาที่เกี่ยวกับฐานะปัจจัยทางสัง
ภาษาเชิงจิตวิทยา
ศึกษาภาษาที่สัมพันธ์เกี่ยวกับจิตใจ
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์
การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษาวิจัยภาษา
ภาษาศาสตร์ประยุกต์
การนำความรู้ทางภาษาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา
ความหมายของภาษา
ภาษาโดยแคบ
เป็นภาษาที่เน้นแค่เสียงของมนุษย์เพียงอย่างเดียว
ภาษาโดยกว้าง
เสียงของมนุษย์ ท่าทาง สัญลักษณ์ต่างๆ
ลักษณะสำคัญของภาษา
ภาษามีระบบ
ระบบเสียง
การประกอบของหน่วยเสียงในพยางค์ หรือคำต่างๆ
ภาษามีไวยกรณ์
การประกอบของหน่วยคำ การเรียงวลี รวมไปถึงเรียงประโยค
ลักษณะทวิลักษณ์
เป็นภาษาที่มีรูป คือ มีเสียงและความหมายในตัว
ภาษามีลักษณะสมมุติ :
เป็นภาษาที่กลุ่มคนตกลงกันขึ้นมาเอง
ภาษาลักษณะเพิ่มพูน
มีการนำพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์มาประกอบให้เกิดคำใหม่ได้มากมาย
ภาษามีลักษณะไม่จำกัดเรื่องเวลา และสถานที่
สามรถใช้ได้ตลอดในทุกยุคสมัย
ภาษาแปร
รูปใน 2 ภาษาขึ้นไปใช้แทนกันไดเโดยที่ความหมายไม่เปลี่ยน
ภาษามีลักษณะไม่จำกัดการส่งสาร
สามารถคุยแลกเปลี่ยนกันได้ทุกคู่สนทนา
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงด้านความหมาย
ความหมายกว้างออก
คำที่มีความหมายเฉพาะแต่มาใช้จริงสามารถใช้ได้หลากหลาย
ความหมายแคบเข้า
คำที่มีความหมายหลากหลายแต่เมื่อนำมาใช้จะมีความหมายเฉพาะ
ความหมายย้าย
คำที่มีความหมายอีกอย่างแต่นำมาใช้อีกอย่าง
ภาษามีการเปลี่ยนแปลงเสียง
พยัญชนะ ญ ในอดีตต้องออกเสียงนาสิกแต่ในปัจจุบันจะออกเสียงเหมือน พยัญชนะ ย และไม่มีนาสิก
ปัจจัยที่ทำให้ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงภายนอก
การอพยพถิ่นฐาน
การติดต่อค้าขาย
การตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก
การรับวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากตัวเอง
เปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติและกาลเวลา หรือเรียกว่าการเลื่อนไหลของภาษา
รูปแบบของภาษา
ภาษาติดต่อ
ใช้หน่วยเติมคำเพื่อไปประกอบคำให้ได้คำใหม่มากขึ้น
ภาษาผันคำ
มีการผันรูปออกไปตามหน้าที่ของคำที่ใช้
ภาษาคำควบมากพยางค์
มีการนำคำมาต่อให้ยาวได้เทียบเท่ากับประโยค
ภาษาคำโดด
เป็นอิสระไม่เปลี่ยนรูปมีหน้าที่ขึ้นอยู่กับการเรียงของประโยค
ประโยชน์ของภาษาศาสตร์
่
ประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย
ทำให้ผู้คิดอย่างมีเหตุ
ใจกว้าง มีใจเป็นกลาง
การวิเคราะห์ภาษาตามแนวภาษาศาสตร์
การวิเคราะห์ตามแนวเดิม
ไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน ไม่มีการแบ่งระหว่างภาษพูดกับภาษาเขียน
ไม่มีการศึกษาที่เป็นกลาง
การวิเคราะห์ตามแนวภาษาศาสตร์
ขั้นการสังเกต
ขั้นการตั้งสมมติฐาน
ขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นสรุปผลจากการวิเคราะห์
: