Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาบทที่ 4 และ 11 ผู้ป่วยโรค Brain tumor - Coggle Diagram
กรณีศึกษาบทที่ 4 และ 11
ผู้ป่วยโรค Brain tumor
จากประวัติ
ทารกเพศชาย อายุ 1 เดือน
อาการแรกรับ
ซึม
มีตาเหล่
อาเจียน
ไม่สามารถกลืนได้
มีอาการเกร็งกระตุกเป็นพักๆ
ประวัติการคลอด
มารดา GA 39+2 wks
ผ่าคลอด
น้ำหนักแรกคลอด 3050 กรัม
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ทำ CT brain พบ
Large suprasellar mass
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hb = 8 g/dl Hct = 24 %
WBC = 3,000 cells/mm3
Plt = 100,000 cells/mm3
Set OR for bifrontal craniotomy to remove tumor
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีการเจริญผิดปกติของ Neural crest มีการได้รับการฉายรังสีที่ศีรษะ หรือมีความผิดปกติของโครโมโซม จะทำให้เกิดการแบ่งตัวของเซลล์ในสมองที่ผิดปกติ ทำให้เกิดเป็นเนื้องอก ซึ่งลักษณะของการเกิดอาจเริ่มจากเซลล์ใดก็ได้ภายในกะโหลกศีรษะซึ่ง ได้แก่ Glial cell, Nerve cell, Neuroepithelium cell, Cranium nerve cell, Blood vessel cell, Pineal gland cell และ Hypophysis cell จึงทำให้ลักษณะของการเกิดเนื้องอกสมองมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของเซลล์ต้นกำเนิด
สถานการณ์และอุบัติการณ์
ในเด็ก (กลุ่มอายุ 0-14 ปี) เนื้องอกในสมองหลักมีอุบัติการณ์สูงสุดระหว่างปี 2012 ถึง 2016 โดยมีอัตรา 5.74 ต่อ 100,000 เนื้องอกในสมองในวัยเด็กยังเป็นเหตุผลอันดับต้น ๆ สําหรับการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในเด็กในปี 2009 (Resende, L. L., & Alves, C. 2021)
ปัญหาทาการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
A1 อาจเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเนื้องอกในสมอง
บันทึกสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงกิจกรรมการพยาบาลที่เพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
A2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะชักและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุขณะชักเนื่องจากมีพยาธิสภาพของสมอง
เมื่อผู้ป่วยชักจัดท่านอนตะแคง ไม่ผูกยึดผู้ป่วย
ประเมินอาการ อาการแสดงของภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอทั้งขณะชักและภายหลังการชัก
บันทึกสัญญาณชีพและอาการทางระบบประสาทหลังชัก
A3 เสี่ยงต่อการเกิดเซลล์สมองถูกทำลาย เนื่องจากเกิดภาวะชัก
สังเกตอาการและอาการแสดงของเซลล์สมองถูกทำลาย
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันการชักตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการเกิดภาวะชักซ้ำ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ และสะอาด เพื่อลดสิ่งกระตุ้น
A4 เสี่ยงติดเชื้อภายหลังการผ่าตัดเนื่องจากภูมิต้านทานต่ำและค่า WBC ต่ำกว่าปกติ
ดูแลแผลให้แห้งและสะอาด เพื่อป้องกันการติดเชื้อเพิ่ม
ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่โปรตีนสูง เพื่อส่งเสริมการหายของแผล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
A5 มีโอกาสเกิดภาวะเลือดง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
ประเมินภาวะเลือดออกในร่างกาย
งดกิจกรรมที่ทำให้เลือดออกได้ง่าย
ดูแลให้ได้รับเกร็ดเลือดตามแผนการรักษา และสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด