Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพชุมชน, image, image, image, image, image, image,…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพชุมชน
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Global Megatrends)
แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
การหดตัวลงของห่วงโซ่มูลค่าโลกและการปรับเปลี่ยน ทิศทางไปให้ความสำคัญกับการสร้างความเชื่อมโยงการพึ่งพาเศรษฐกิจระหว่างกันภายในภูมิภาคมากขึ้น
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการรักษาพยาบาล
เศรษฐกิจในภาพรวมให้สามารถผลิตสินค่าและบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นได้ในระยะเวลาที่สั้นลง แต่ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดังกล่าวอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อตลาดแรงงาน โดยอาจนำไปสู่การขาดแคลน แรงงานทักษะ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
อัตราส่วนพึ่งพิงของผู้สูงอายุต่อวัยแรงงาน และภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น
การขยายตัวของความเป็นเมือง
หน่วยงานระดับท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังขาดศักยภาพในการบริหาร จัดการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนยังมีความล้าหลังในการขยายตัวเป็นเมือง
การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล
ส่งผลให้ประชาชนไทยมีพฤติกรรมการ ใช้ชีวิตเป็นไปตามกระแสนิยมและการเปลี่ยนแปลงของโลกในทิศทางเดียวกัน ยังผลให้ประเทศไทยมีผู้ป่วย ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นจำนวนมาก
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทางสังคม
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสารส่งผลให้วิถีชีวิตของคน รุ่นต่างๆ เปลี่ยนไปอย่างมาก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
รับผลกระทบจากการเปลี่ยนสภาพ ภูมิอากาศในหลากหลายรูปแบบ เช่น น้ำท่วมฉับพลัน ภาวะภัยแล้ง และการรุกล้ำของน้ำทะเล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มลพิษจากสารอันตรายและของเสียอันตราย ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของประชาชน และแนวโน้มในอนาคตอาจจะมีผู้ปุวยจากโรคที่ เกิดจาก การประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นการรักษาสมดุลและ ความหลากหลายทางชีวภาพด้วยการเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ
ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ การเกิดภัยพิบัติต่างๆ
มลพิษทางน้ำ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชน
มลพิษทางอากาศ PM2.5 สามารถแพร่กระจายเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ ถุงลมปอด และกระแสเลือดได้โดยตรง
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีบทบาทที่สำคัญอย่างมากต่อการควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจกของไทยเพื่อที่จะบรรลุ เป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน NDC
ป่าชายเลน เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้พื้นที่ป่าชายเลนของไทยเกือบครึ่งหนึ่งไม่สามารถคงสภาพเป็นป่าชายเลนได้ดังเดิม
แนวปะการัง การจำกัดการเดินทางท่องเที่ยว ของไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลให้ทรัพยากร ทางทะเลหลายประเภทฟื้นตัวขึ้น
ขยะ ขยะพลาสติกเป็นประเภทของขยะที่มีอัตราการเพิ่มสูงที่สุด ซึ่งเป็นผลมาจาก พฤติกรรมการบริโภคในยุคสมัยใหม่ที่เน้นความสะดวกในการบริโภค
ผลกระทบและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
กระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น พบว่ายังอยู่ในระดับค่อนข้าง รุนแรง เนื่องจากการพึ่งพาภาคบริการในสัดส่วนสูง โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดลงทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ
ผู้คนไม่สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติและที่เป็น การเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรเนื่องจากเห็นถึงประโยชน์และโอกาสในการเพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานของหน่วยงานด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ปริมาณขยะเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะ ขยะพลาสติก ซึ่งเป็นผลอันเนื่องมาจากรูปแบบการบริโภคและการผลิตที่ปรับเปลี่ยนไปของภาคส่วนในสังคม
มาตรการปิดเมืองและจำกัดการเดินทางยังนำไปสู่ภาวะชะงักงันของการค่าและการบริการระหว่างประเทศ
ส่งผลให้ประชาชนมี ความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มมากขึ้น
ความต้องการสินค้าแปรผัน ตามกำลังซื้อที่ลดลงอย่างมากของตลาดโลก
นางสาวพฤศจิกา ยาเถิน เลขที่ 66 รหัสนักศึกษา 611901069