Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
(Urinary system Infection during pregnancy)
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สําคัญของระบบทางเดินปัสสาวะ ตั้งแต่ภายในกรวยไตจนถึงท่อไต
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต ในไตมีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มจึ้นประมาณร้อยละ 70-85 ทําให้ไตต้องปรับตัว และเพิ่มหน้าที่การกรองของไตขึ้นประมาณร้อยล45
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบขับถ่ายปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
1.การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ
(Asymptomatic bacteriuria: ASB)
เป็นการตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 colony forming unit/ml (cfu/ml)
2.การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ ร่วมกับมีอาการเจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ
3.การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต
(Acute pyelonephritis)
เป็นการตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะ มากกว่า 105 cfu/ml ร่วมกับปัสสาวะเป็นหนอง มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอว
4.กลุ่มอาการโรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic syndrome)
พบโปรตีนในปัสสาวะมากประมาณ 5 กรัมต่อวัน โปรตีนในเลือดต่ํา ไขมันในเลือดสูง และมีอาการบวมโดยไม่ทราบสาเหตุ
5. ภาวะไตวาย (renal failure)
5.1 ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
มักมีสาเหตุมาจากโรคหลายอย่าง เช่น DM, SLE, glomerulonephritis
5.2 ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
มักมีสาเหตุจากการแท้งติดเชื้อ (septic abortion), preeclampsia with severe feature, hemolytic uremia syndrome
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์ทําให้ท่อไตตึงตัว ทําให้การเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของท่อไตลดลง ประสิทธิภาพในการดูดซึมกลับลดลง ทําให้ปัสสาวะค้างอยู่ในทางเดินปัสสาวะมากขึ้น
มดลูกมีการขยายขนาดใหญ่ขึ้นและกดเบียดกระเพาะปัสสาวะทําให้รูเปิดของหลอดไตที่กระเพาะปัสสาวะเกิดการบิดงอ ขับปัสสาวะออกไม่สะดวก
พยาธิสรีรวิทยา
ติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไป ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทํางานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์ จากProgesterone การขยายตัวของขนาดมดลูก
อาการและอาการแสดง
Lower UTI
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะแสบขัด
กระปิดกระปรอย
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะเป็นเลือด
Upper UTI
ปัสสาวะสีขุ่น
เจ็บบริเวณชายโครง
ปวดหลังบริเวณตําแหน่งของไต
มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
Abortion
Premature labour
PROM
Uterine contraction
septic shock
ผลต่อทารก
LBW
IUGR
Prematurity
Stillbirth
การประเมินและวินิจฉัย
1. การซักประวัติ
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะหรือระบบสืบพันธุ์
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
2. การตรวจร่างกาย
ตรวจพบปัสสาวะขุ่น
ปัสสาวะเป็นสีน้ําล้างเนื้อ
มีไข้ ปวดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าว
หากกดบริเวณcostovertebral angle จะปวดมาก
3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
urine analysis
urine culture
แนวทางการป้องกันและรักษา
1. การป้องกัน
1.2 แนะนําให้ดื่มน้ําอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
1.3 ทําการคัดกรองการติดเชื้อ
1.1 แนะนําให้ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
2. การรักษา
2.1 รายที่มีการติดเชื้อแบบ ASB
ต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
2.2 รายที่มีการติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
ให้ยาปฏิชีวนะที่มีความไวต่อเชื้อ
2.3 รายที่เป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
เน้นเรื่องการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
การสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ
ในกรณีที่คลอดก่อนกําหนดเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือทารกแรกเกิดให้พร้อม
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ให้คําแนะนําเช่นเดียวกับคําแนะนําเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อน และแผนการรักษาพยาบาล
เน้นความสําคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ํำเสมอ
แนะนําการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
3.3 ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายโดยเฉพาะอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
3.4 ในรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์ถึงความจําเป็นของการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
3.2 ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
3.5 แนะนําให้สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องรีบาพบแพทย์
3.1 พักผ่อนอย่างเพียงพอ
กรณีที่ต้องรับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
5.8 ดูแลประคับประคองจิตใจ
5.7 บรรเทาความไม่สุขสบาย
5.6 ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
5.5 สังเกตและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
5.4 ประเมินเสียง FHS และ FM
5.3 ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
5.2 ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
5.1 อธิบายถึงความจําเป็นในการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและได้รับการรักษา