Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fetal distress - Coggle Diagram
Fetal distress
การวินิจฉัย
Non-stress test (NST)
Contraction stress test (CST)
Electronic fetal heart rate monitoring (fetal cadiotocography)
การตรวจระดับ estriol ในปัสสาวะและเลือดของผู้คลอด
อายุครรภ์> 32 wk. estriol in urine ~ 30 – 40 mg.
ถ้าสูงกว่าปกติแสดงว่า ทารกในครรภ์ปลอดภัย
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการทำงานของรก
ถ้าต่ำ กว่าปกติแสดงว่า ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะอันตราย
การมีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ (Meconium stained of amniotic fluid)
การสังเกตและบันทึกการดิ้นของทารก
ถ้าทารกดิ้นมากขึ้นและแรงขึ้นทันทีทันใดแล้วหยุดดิ้น
หากทารกหยุดดิ้นนานกว่า 1 ชั่วโมง
Fetal scalp blood sampling เพื่อประเมินสภาพกรด-ด่างของทารกในครรภ์pH ต่ำกว่า 7.20 ถือว่ามีภาวะ fetal distress
การตรวจอื่นๆ
Ultrasound
Biophysical Profile (BPP)
fetal acoustic stimulation test
การซักประวัติ
⮚ ลักษณะและสีของน้ำคร่ำ (กรณีที่ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว)
⮚ การดิ้นของทารกในครรภ์
พยาธิสรีรภาพ
เลือดไปเลี้ยงรกลดลง
ทารกในครรภ์ขาด O2
สมองขาด O2
ทารกมีการหลั่งสาร arginine vasopressin
กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักคลายตัว
ขี้เทาปนน้ำคร่ำ
อาการและอาการแสดง
Meconium stained of amniotic fluid แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะตามความรุนแรง
Moderate meconium stained คือ น้ำคร่ำมีสีเขียวปนเหลือง
Thick meconium stained คือ น้ำคร่ำมีสีเขียวแข้นมาก
Mild meconium stained คือ น้ำคร่ำมีสีเหลือง
Hypoactivity
ทารกมีการเคลื่อนไหวลดลง
มารดาจะสังเกตได้ว่าทารกดิ้นลดลง
Abnormal FHR pattern
หากพบ FHR > 160 ครั้ง/นาที หรือ < 110 ครั้ง/นาที
Variable deceleration
Late deceleration
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
Uteroplacental insufficiency (UPI)
Maternal hypotention จากสาเหตุต่างๆ เช่น ตกเลือด , supine position , sympathetic paralysis จาก anesthesia เป็นต้น
Uterine hyperactivity ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก หรือเกิด จาก placental abruption เป็นต้น
Placental dysfunction เช่น PIH , Heart , GDM , Anemia , Malnutrition Postterm pregnancy.
Umbilical cord compression
ในรายที่สายสะดือย้อยUmbilical cord compression
ในรายที่มีน้ำคร่ำน้อย
การรักษา
Intrauterine resuscitation
ให้ O2 canular 4-5 ลิตร/นาที แก่มารดา
หยุดให้ยา Oxytocin รวมถึงแก้ไขการ หดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรง
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำในมารดา
ให้มารดานอนตะแคงซ้าย
Extrauterine resuscitation
รายงานแพทย์
ให้คลอดเร็วที่สุด
หลักการพยาบาลทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
การป้องกันการเกิดภาวะทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
ประเมินและวินิจฉัย โดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจ LAB และตรวจพิเศษ
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
ประเมิน UC ทุก 30-60 นาที
กรณีที่ถุงน้ำคร่ำแตก ควรฟัง FHS และ PV ทันที และสังเกตลักษณะของน้ำคร้ำ
ในรายที่ได้รับยา Oxytocin ควรติดตาม การหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ในรายที่ถุงน้ำคร่ำแตกแต่ส่วนนำยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน หรือส่วนนำ ผิดปกติ ควรป้องกัน Prolapsed cord โดยให้นอนพักบนเตียง
เฝ้าคลอดอย่างใกล้ชิดและส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
แนะนำเกี่ยวกับการสังเกตและนับการดิ้นของทารก
ฟัง FHS ทุก 30-60 นาที
การพยาบาลเมื่อทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
ดูแลให้ได้รับ IV อย่างเพียงพอเพื่อลดภาวะกรดในเลือด การพยาบาลเมื่อทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
ฟัง FHS ทุก 5-10 นาที หรือ On external fetomonitoring เพื่อประเมนิรูปแบบของ FHR
ในรายที่ได้รับยา Oxytocin ต้องหยุดให้ทันที
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการช่วยคลอดโดยใช้สูติ ศาสตร์หัตถการ เช่น C/S , F/E หรือ V/E เป็นต้น การพยาบาลเมื่อทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
พบ FHS ผิดปกติ หรือพบขี้เทาในน้ำคร่ำ
รายงานกุมารแพทย์เพื่อเตรียมทีมในการทำ extrauterine resuscitation
จัดให้นอนตะแคงซ้าย
อธิบายและสร้างความเข้าใจแก่ผู้คลอดและครอบครัวถึง ภาวะที่เกิดขึ้นและการรักษาพยาบาลที่จะได้รับ เปิด โอกาสให้ซักถาม พร้อมทั้งปลอบโยนและให้กำลังใจ สนับสนุนทางด้านจิตใจ
ทารกอยู่ในภาวะอันตราย ซึ่งหากไม่ได้รับการช่วยเหลือ ทันเวลาอาจมีอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้