Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แมลงกัดที่บริเวณข้อเท้าขวา, ผู้ป่วยหญิงหญิงไทย อายุ 60 ปี image, image -…
แมลงกัดที่บริเวณข้อเท้าขวา
เกิดบาดแผลบริเวณผิวหนัง
ติดเชื้อ Staphylococcus aureus ผ่านทางบาดแผล
หลั่งสาร exotoxin และ endotoxin
กระตุ้นกระบวนการอักเสบเฉพาะที่เนื้อเยื่อ
เกิดการขาดเลือดของผิวหนังและ subcutaneous tissue
เซลล์บุผนังหลอดเลือดถูกทำลายที่ระดับ capillaries
มีเนื้อเยื่อบวม การตายของเซลล์และเนื้อเยื่อ
เกิดการอุดตันของ venule และ arterioles
แผลมีการเน่าตาย และแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ไร้ขอบเขต
2 more items...
ผู้ป่วยหญิงหญิงไทย อายุ 60 ปี
CC : 1 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยมีอาการบวม แดง ปวดบริเวณขาขวา และแผลมีหนองสีเหลืองข้นบริเวณเข่าขวา
PI : 5 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยถูกแมลงกัดบริเวณข้อเท้าขวา มีอาการบวมแดง ปวดบริเวณขาขวาท่อนล่าง เท้าขวา ญาติซื้อยาฆ่าเชื้อ และยาแก้ปวดมาให้รับประทาน อาการปวดทุเลา
1 วันก่อนมารพ. มีอาการบวม แดง ปวดขาขวาท่อนล่างมากขึ้น และมีแผลที่ขาขวาอักเสบเป็หนองหลังเท้าบวมแดง ญาติจึงนำส่งรพ.
Dx : Cellulitis right leg
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Hb 12 g/dl
Hct 33.6 %
WBC 22, 000 /ul
Neutrophil 90% platelet 177,000 /ul
GFR 140 ml/min
BUN 44mg/dl Cr. 2.8 mg/dl.
Na 138 mEq/L
K 3.0 mEq/L
Cl 101mEq/L
Eco2 22 mmHg
ข้อวินิจฉัยที่ 3 มีภาวะ Hypokalemia
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ Hypokalemia ได้แก่ ภาวะหายใจล้มเหลว ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจหยุดเต้น กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือปวดเกร็ง เป็นเหน็บชา หน้ามืด เป็นลม เพื่อให้ผู้ป่วยมีค่า Potassium อยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ3.5-5 mmol/L
ประเมินV/S ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินและติดตามอาการ อาการแสดงการเปลี่ยนแปลงของภาวะ Potassium ต่ำ
แนะนำและดูแลให้รับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง ได้แก่ ผักใบเขียว ส้ม กล้วย มะเขือเทศ เห็ด เป็นต้น เพื่อเพิ่มโปแตสเซียมและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Kcl elixir 30 ml. stat ตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ำ และติดตามผลข้างเคียง Arrhythmia, Cardiac arrest, Hypotension ปวดบริเวณที่ฉีด กล้ามเนื้ออ่อนแรง ทำลาย ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด
ติดตาม electrolyte ตามแผนการรักษาของแพทย์ โดยเฉพาะ Potassium ถ้าพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทราบ เพื่อประเมินและติดตามระดับของค่า Potassium
ติดตาม EKG ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ
ข้อมูลสนับสนุน
S : -
O :
K 3.0 mEq/L
EKG sinus tachycardia
HR 104 ครั้ง/min
แบบแผนที่ 4 แบบแผนด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย (Activity-Exercise Pattern)
ข้อวินิจฉัยที่ 4 พร่องกิจวัตรประจำวัน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันโดยใช้เครื่องมือ ADL เพื่อติดตามการทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองของผู้ป่วย
ดูแลทำความสะอาดร่างกายแบบ partial bath วันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) โดยทำความสะอาดส่วนที่ผู้ป่วยไม่สามารถทำเองได้ เปลี่ยนเสื้อผ้า เพื่อชำระล้างสิ่งสกปรก เหงื่อไคล และรู้สึกสดชื่น สบายตัวขึ้น
กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยดูแลช่องปากและฟัน โดยการให้ผู้แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง เพื่อรักษาความสะอาดภายในช่องปากและฟัน
กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเอง โดยรับประทานวันละ 3 มื้อ เพื่อให้ได้รับสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้ผู้ป่วยขับถ่ายบนเตียง เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหกล้ม และไม่เพิ่มการอักเสบติดเชื้อของแผล
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยนอนกลางวันในช่วงบ่ายโมงถึงบ่าย 3 เป็นเวลา 30 นาที และควรนอนวันละ 7 -8 ชั่วโมง ควรนอนไม่เกิน 22.00 น. เพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกาย และให้ร่างกายรู้สึกกระปรี้กระเปร่า
ดูแลรักษาความสะอาดและจัดสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย โดยดูแลความสะอาดบนเตียง หัวเตียง การปิดม่านบางส่วนในตอนกลางวัน เพื่อให้บริเวณรอบๆผู้ป่วยสะอาด ป้องกันการติดเชื้อเพิ่ม และไม่รบกวนผู้ป่วย
แนะนำผู้ป่วยและสอนญาติในการดูแลด้านการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย เช่นการเคลื่อนไหว การลุกนั่ง
ข้อมูลสนับสนุน
S :
ผู้ป่วยบอกว่า “ได้ยินไม่ชัด ตาขวามองไม่เห็น เพราะเคยได้รับอุบัติเหตุและไม่ได้รักษา”
ผู้ป่วยบอกว่า“เดินไม่ได้ เพราะจะปวดมาก”
O :
มีอาการบวม แดง กดนิ่ม บริเวณขาขวาท่อนล่างตลอดถึงเท้า
แผลที่เข่าขวาอักเสบเป็นหนอง แผลยาว 10 ซม. หนังสีดำมีกลิ่นเหม็น
pain scale 7 คะแนน
แบบแผนที่ 10 แบบแผนด้านการปรับตัว และความทนทานต่อความเครียด(Coping-Stress Tolerance Pattern)
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 5 ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะความเจ็บป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
S :
ผู้ป่วยบอกว่า “เมื่อไหร่จะหาย กลัวโดนตัดขา และอยากกลับบ้าน ”
ญาติบอกว่า “ เมื่อไหร่อาการจะดีขึ้น สงสารผู้ป่วยและอยากกลับบ้าน ”
O :
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้ากังวล และไม่ค่อยยิ้มแย้ม
ผู้ป่วยและญาติถามเรื่องอาการป่วย และบ่นอยากกลับบ้าน
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยด้วยท่าทางเป็นมิตร ยิ้มแย้มแจ่มใส
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงความสำคัญของการรักษาการพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
สอบถามความรู้สึกและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ พูดคุยระบายความในใจและรับฟังด้วยความตั้งใจ ท่าทางสงบไม่แสดงอาการรีบร้อน
ให้ผู้ป่วยซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆ และตอบด้วยความเต็มใจ พร้อมให้กำลังใจ
แนะนำให้ผู้ป่วยและญาติทำกิจกรรมที่ตนเองชอบ เมื่อรู้สึกกังวล เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง ดูหนัง
ประสานงานทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องให้ผู้ป่วยปรึกษาและรับคำแนะนำในข้อสงสัย แนวทางการดูตนเอง และปรับตัว เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติคลายความกังวล