Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับรู้ชนิดพิเศษของร่างกาย(special senses) - Coggle Diagram
การรับรู้ชนิดพิเศษของร่างกาย(special senses)
การมองเห็น(visual sensations)
ส่วนประกอบภายในลูกตา
2.ชั้นหลอดเลือด vascular tunic or uvea
ciliary body : ciliary process, ciliary muscle
ciliary process ทำหน้าที่ผลิต aqueous humor เข้าสู่โพรงด้านหน้าของลูกตา ของเหลวจะถูกดูดกลับสู่เส้นเลือดดำ
ciliary muscle กล้ามเนื้อเรียบ เรียงตัวกันในรูปวงกลมและตามยาว ช่วยการทำงานของเลนส์ตาปรับภาพให้ชัดเจน
iris ม่านตา มีรูตรงกลาง
1.circular muscle เรียงตัวเป็นรูปวงกลม ทำหน้าที่ลดขนาดรูม่านตา
2.radial muscle เรียงตามแนวยาว ทำหน้าที่ขยายม่านตา
lens
-โปร่งแสง ไม่มีสี ยืดหยุ่นสูง
-มีม่านตา (iris) กล้ามเนื้อเรียบแผ่นบางๆที่ยื่นมาปิดเลนส์ตา ทึบแสง ปกคลุมด้านหน้าให้แสงผ่านได้ บริเวณตรงกลาง เรียกว่า รูม่านตา
-ถูกยึดอยู่กับที่ด้วยเอ็นยึดเลนส์(lens ligament)
choroid or pigmented layer ประกอบด้วยเส้นเลือดฝอยจำนวนมากเป็นที่ส่งผ่านอาหารให้แก่ส่วนอื่นๆภายในลูกตา มีเม็ดสีช่วยดูดซึมลำแสงส่วนเกินและลดการสะท้อนของแสงที่เข้าลูกตา
3.จอประสาทตา retina or light-sensitive layer
-pigment layer
-เซลล์รับแสง
รูปแท่ง มีความไวต่อแสงมากกว่าเซลล์รับแสงรูปกรวย
รูปกรวย มีหน้าที่ สำหรับการมองเห็นภาพสีหรือในขณะที่มีแสงเข้ม
-มีเนื้อเยื่อประสาทจำนวนมาก
1.ชั้นนอกสุด fibrous tunic
sclera เป็นเนื้อเยื่อเส้นใย ทำหน้าที่่ ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นใน
cornea เป็นช่องด้านหน้า โปร่งแสง ทางผ่านของแสง
กลไกการเกิดภาพ
-เซลล์สัญญาณประสาทเชื่อม (interneurons)
-แปลสัญญาณประสาทที่สมอง
-แสงตกกระทบ รงควัตถุไวในแสง rod cells และ cone cells
ส่วนปรกอบภายนอกลูกตา
2.ขนตา(eyelashes)และขนคิ้ว(eyebrows)
3.โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับน้ำตา (lacrimal apparatus) ได้แก่ -lacrimal gland,
-excretory lacrimal ducts,
-lacrimal puncta -lacrimal canal:sup,inf -nasolacrimal duct -inferior nasal concha
1.หนังตาบนและล่าง(upper and lower eyelids หรือ palpebrae)
เซลล์เชื่อมสัญญาณประสาท interneuron
2.ganglion cells รับสัญญาณจากเซลล์อื่นๆแล้วส่งไปสู่ optic nerve
3.horizontal cells เชื่อมระหว่างเซลล์รับแสงด้วยกันเองและระหว่างเซลล์รับแสงกับ bipolar cells
1.bipolarcells มีความสำคัญในขบวนการมองเห็น ทำหน้าที่ เชื่อมประสานระหว่างเซลล์รับแสงกับเซลล์อื่นๆ
amacrine cells เชื่่อมระหว่าง ganglion cells ด้วยกันเอง และระหว่างbipolar cells กับ ganglion cells
brain pathway and visual field
primary visual area (17)
visual association area(18,19)
การปรับภาพให้ชัดเจนด้วยเลนส์ตา (accommodation of lens)
-เลนส์เว้า (biconcave) กระจายแสง
-ความชัดของภาพขึ้นกับว่าเลนส์ตาจะสามารถหักเหแสงให้ภาพตกตรงจุดโฟกัสบน retina ได้พอดีหรือไม่
-เลนส์นูน (biconvex) รวมแสง
-เลนส์ตาถูกตรึงไว้กับ เอ็นยึดเลนส์ตา lens ligament บน ciliary muscle โดยการควบคุมการปรับภาพของระบบประสาท parasympatheticnerve activity
การได้ยินและการทรงตัว(auditory sensationsand equililbrium)
2.หูส่วนกลาง middle ear หรือ tympanic cavity
-eustachian tube (auditory tube)
-auditory ossicles ได้แก่ malleus , incus , stapes
-ส่วนหลังจะติดต่อกับ mastoid air cell ของกระดูก temporal bone เรียก tympanic antrum
-tensor tympani muscle , stapedius muscie
-ตั้งอยู่ใน temporal bone
-acoustic หรือ tympanic หรือ attenuation reflex
หูชั้นกลาง middle ear เป็นโพรงอากาศติดต่อกับโพรงจมูกและลำคอผ่านทางท่อ eustachian tube
-ท่อ eustachian tube ทำหน้าที่ปรับความดัน 2 ด้าน ของเยื่อแก้วหูให้เท่ากัน
-ภายในหูชั้นกลางมีกระดูก auditory ossicles 3 ชิ้น
1.กระดูกฆ้อน malleus ติดกับ ear drum
2.กระดูกทั่ง incus
3.กระดูกโกลน stapes ติดกับ oval window กระดูกทั้ง 3 ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง air bome sound ให้เกิดเป็นคลื่นของเหลว fluid-bome sound
eustachian tube
1.หูส่วนนอก external ear
2.external auditory canal เป็นท่อยาว 2.5 cm
3.เยื่อแก้วหู tympanic membrane or eardrum
1.ใบหู pinna,auricle
หูส่วนนอก ทำหน้าที่ รับเสียง รวมเสียงผ่านไปกระทบเยื่อแก้วหู และป้องกันอันตราย
3.หูส่วนใน internal or inner ear
หูชั้นในทำหน้าที่
1.ส่วนที่ใช้ฟังเสียง (auditory apparatus ) คือ คอเคลีย cochlea
ส่วนที่ใช้ในการทรงตัว (vestibular apparatus) คือ ท่อครึ่งวงกลม (semicircular canals)
bony labyrinth ส่วนที่เป็นท่อกระดูก
-perilymph CSF(cerebrospinal fluid) perilymph
-membranous labyrinth ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อ ได้แก่ semicircular canals , vestibule( utricle & saccule) , cochlea
-labyrinth (outerbony labyrinth )
-endolymph คล้ายกับ ICF (intracellular fluid)
กลไกการได้ยินเสียง คือ กลไกการนำเสียงผ่านหูส่วนนอกและส่วนกลาง กลไกการได้ยินผ่านหูชั้นใน การเกิดสัญญาณประสาท
การทรงตัว (vestibular system)
อวัยวะรับความรู้สึก (sense organs) คือ crista ampullaris ของ semicircular canals , macula ใน utricle , saccule ทั้ง 3 ส่วนประกอบกันเป็นระบบท่อมี endolymph บรรจุอยู่ภายใน ภายในท่อมี hair cells คือ stereocilia , kinocilium
กลไกการเกิดสัญญาณประสาทการทรงตัว
ส่วนรับรู้การหมุน ได้แก่ semicircular canals , crista ampullaris , ,hair cells , gelatinous mass เรียกว่า cupula
2.ส่วนรับรู้ตำแหน่งของศีรษะและร่างกาย
-อาศัยการทำงานของ hair cells ใน macula ของ utricle , succule
-gelatinous layer เรียกว่า otolithic membrane มีสารผสมของ CaCO3 เรียกว่า otoliths
กายวิภาคศาสตร์ของเซลล์รับกลิ่น anatomy of olfactory receptors
ทางเดินของประสาทรับกลิ่น olfactory pathway
2.ไปที่ cribriform plate of the ethmoid bone
3.ไปที่ olfactory bulb ไป synapse ครั้งแรกที่นี้
1.olfactory nerve
เข้าสู่ olfactory tract
5.เข้าสู่ olfactory area ในสมองในส่วนต่างๆ
สารที่กระตุ้นเซลล์ตัวรับกลิ่น
2.ละลายน้ำได้
3.ละลายได้ในไขมัน สารที่ละลายได้ดีทั้งในไขมันและน้ำจะกระตุ้นเซลล์รับกลิ่นได้ดีกว่าสารที่ละลายได้ในน้ำหรือน้ำมันอย่างเดียว
1.ต้องระเหยได้
ตัวรับกลิ่น olfactory receptor 10-100 ล้านเซลล์ หรือ olfactory epithelium ตำแหน่ง nasal septum
ยื่นมาที่ superior nasal concha
ส่วนบนของ middle nasal concha
neural pathway for olfaction area ในสมอง
secondary (medial)olfactory area อยู่ที่สมองส่วน frontal lobe ทำหน้าที่ประสานกันระหว่างกลิ่นและอารมณ์ เช่น กลิ่นน้ำหอมเดิมไปกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ
primary (lateral )olfactory area อยู่ที่ส่วนสมอง temporal lobe ทำหน้าที่ รับกลิ่น
การรับรส gustatory sensations หรือ taste
ปุ่มรับรสที่พบบริเวณลิ้นเรียก papillae
fungiform papillae อยู่ตรงปลายลิ้นและข้างลิ้น
3.filiform papillae ปกคลุมส่วนหน้าประมาณ 2/3ส่วนของลิ้น
1.cricum vallate papillae พบบริเวณโคนลิ้นเป็นรูปตัววีกลับหัว
foliate papillae เป็นสันนูนเล็กๆ ขนานอยู่ด้านข้างลิ้น พบมากในสัตว์
รสพื้นฐานและตำแหน่งที่อยู่
1.รสหวาน ปลายลิ้น
2.รสเค็ม ขอบลิ้นด้านหน้าถัดรสหวานเข้าไป
3.รสเปรี้ยว ขอบลิ้นด้านข้างถัดมาทางโคนลิ้น
4.รสขม บริเวณโคนลิ้นรับรสได้ดีที่สุด
-รสมัน กระตุ้นปุ่มรับรสเค็มกับรสหวาน
-รสเผ็ด กระตุ้นตัวรับความรู้สึกเจ้บปวด แลไะตัวรับความรู้สึกเกี่ยวกับอุณหภูมิ
ปุ่มรับรส taste bud ประกอบด้วย เซลล์รับรส (gustatory receptor cell) 50เซลล์ เซลล์พยุงและเซลล์พื้นฐาน รวมกันเป็นกระเปาะจะมีขน(gustatory hair หรือ microvillus)ยื่นออกมาจากเซลล์รับรส เซลล์ละ 1 เส้น จะมีรูเปิดที่ปุ่มรับรสเรียก taste pore
การรับความรู้สึกสัมผัส
ประสาทรับความรู้สึกทั่วไป รับความรู้สึกจากผิวหนัง กล้ามเนื้อ และข้อต่อทั่วร่างกาย เช่น ความรู้สึกร้อน การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและข้อต่อ และอวัยวะภายในต่างๆของร่างกาย
1.ประสาทรับความรู้สึกทั่วไปที่จำเพาะ ได้แก่ ประสาทรับสัมผัส การเคลื่อนไหวของเส้นเอ็น กล้ามเนื้อและข้อต่อ
2.ประสาทรับความรู้สึกทั่วไปที่ไม่จำเพาะ ได้แก่ ประสาทรับอุณหภูมิ และความเจ็บปวด
2.ประสาทรับความรู้สึกพิเศษ special sense มีอวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น