Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Vitamin C Deficiency, images, ดาวน์โหลด, อ้างอิง
ฉัตรชัย ยมศรีเคน. (2562)…
Vitamin C Deficiency
การรักษา
-
-
-
ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์ที่เด็กสมควรได้รับในแต่ละวันโดยเฉพาะวิตามินซีที่เด็กปกติควรได้รับ ในแต่ละวันคือ ในเด็กอายุ 1-3 ปี, 650 มิลลิกรัม ในเด็กอายุ 4-8 ปี, 1,200 มิลลิกรัม ในเด็กอายุ 9-13 ปี และ 1,800 มิลลิกรัม ในเด็กอายุ 14-18 ปี
ส่งเสริมให้สตรีที่ให้นมบุตรควรทานผักผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เช่น มะเขือเทศ กะหล่ำ พริกหวาน ส้ม มะนาว ฝรั่ง สับปะรด มะม่วง มะละกอ เพื่อให้ลูกได้รับปริมาณวิตามินซีที่เหมาะสม
อาการและอาการแสดง
เด็กร้องไห้ตลอดเวลา เบื่ออาหาร มีเลือดออกที่เยื่อหุ้มกระดูก (subperiosteal hemorrhage)เด็กจะนอนท่างอเข่าหรือท่ากบ (Frog position) ไม่ค่อยเคลื่อนไหวขา กระดูกซี่โครงเป็นตุ่ม(Sorbulic beads) อาจมีเลือดออกใต้ผิวหนังเป็นจุดแดง หรือเลือดออกจากจมูก ปัสสาวะอุจจาระ
ผิวหนังอาจมีลักษณะผิวหนังจะแห้งหยาบ เพราะวิตามินซีช่วยในการสังเคราะห์คอลลาเจนและมีตุ่มรอบรูขน(Follicular hyperkeratosis)
ในช่องปากมักเจ็บเป็นแผล อาจพบต่อมน้ำลายโต อาการเหงือกบวมและมีเลือดออกไรฟัน และอาจพบเหงือกเน่า (พบบ่อยบริเวณฟันหน้าด้านบน)
-
การพยาบาล
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร ต้องข้าว 3 มื้อนั่งกินกับเรา ไม่เดินป้อน ไม่กินข้าวคำน้ำคำ โตแล้วให้กินเองได้
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร ต้องข้าว 3 มื้อนั่งกินกับเรา ไม่เดินป้อน ไม่กินข้าวคำน้ำคำ โตแล้วให้กินเองได้
-
การป้องกัน
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูให้ความสำคัญกับอาหารของเด็ก ปรับพฤติกรรมการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ เน้นผักสด ผลไม้สด เป็นประจำก็จะทำให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรงห่างไกลจากโรคขาดวิตามินซีรวมถึงโรคอื่นๆ ด้วย
รับประทานผักผลไม้ให้มาก ๆ ในทุกมื้ออาหาร โดยเฉพาะการรับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว (เช่น ส้ม มะนาว สับปะรด กีวี่) ผักสีเขียวเข้ม (ผักโขม บรอกโคลี) กะหล่ำปลี ดอกกะหล่ำ มะเขือเทศ พริกหวาน มันฝรั่ง อาหารสำเร็จรูปที่เพิ่มวิตามินซีเสริมอาหาร เป็นต้น อย่างไรก็ตาม วิตามินซีจะถูกทำลายได้ง่ายจากความร้อน เช่น เมื่อปรุงผักด้วยความร้อนสูงหรือใช้เวลาปรุงนาน ก็จะมีโอกาสที่วิตามินซีในผักเหล่านั้นจะถูกทำลายไปได้สูงถึง 60%
ปริมาณวิตามินซีที่ควรบริโภคต่อวันโดยประมาณ มีดังนี้
อายุ 1-10 ปี ปริมาณ 30 มิลลิกรัม/วัน
อายุ 11-14 ปี ปริมาณ 35 มิลลิกรัม/วัน
อายุ 15 ปีขึ้นไป ปริมาณ 40 มิลลิกรัม/วัน
-
ความหมาย
(ลักปิดลักเปิด)ในเด็ก หรือ โรคขาดวิตามินซี (Scurvy หรือ Vitamin C deficiency) เป็นโรคที่เกิดจากร่างกายขาดวิตามินซี (Vitamin C) โรคขาดวิตามินซีในเด็ก พบในอายุ 6-8 เดือน เด็กคลอดก่อนกำหนดไม่ได้กินนมแม่ หรือเด็กที่
ได้รับอาหารไม่เพียงพอ กลุ่มเด็กที่มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดได้แก่ แม่ที่ใช้นมข้นหวานเลี้ยงทารก ,เด็กที่กินนมผสมที่ชงเจือจาง และพบได้ในทารกที่ดื่มนมแม่ ซึ่งแม่ไม่ได้รับประทานผักและผลไม้
สาเหตุ
เกิดในเด็กที่ได้รับ อาหารไม่ถูกต้อง เช่นเลี้ยงด้วยนม UHTโดยไม่ได้กินอาหารประเภท ผัก หรือ ผลไม้เสริม หรือในเด็กที่เลือกกินอาหาร อย่างเดียวหรือในเด็กที่มีพัฒนาการทางสมองช้า ซึ่งอาจเกี่ยวกับการกินอาหาและการดูแลเอาใจใส่ของผู้ปกครอง
-
-
อ้างอิง
ฉัตรชัย ยมศรีเคน. (2562).
รายงานผู้ป่วย (cases report) การวินิจฉัยและการรักษาภาวะอ่อนแรงผู้ป่วยโรคขาดวิตามินซี (โรคลักปิดลักเปิด) :รายงานผู้ป่วย 2 รายในโรงพยาบาลมหาสารคาม Identification and management of Pseudoparalysis from scurvy : two cases report at Mahasarakham Hospital. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, ปีที่ 16 ฉบับที่ 2, 63. สืบค้น 14 กรกฎาคม 2564 จาก file:///C:/Users/PV/Downloads/219533-ไฟล์บทความ-708028-1-10-20191003.pdfพบแพทย์. (มปป.). โรคลักปิดลักเปิด สืบค้น 14 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.pobpad.com/โรคลักปิดลักเปิดmedthai. (2560). ลักปิดลักเปิด (โรคขาดวิตามินซี). สืบค้น 14 กรกฎาคม 2564 จาก https://medthai.com/ลักปิดลักเปิด/
-
-
-
-
-