Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.2การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - Coggle Diagram
9.2การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การตกขาวผิดปกติ
การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ (Vaginal trichomoniasis)
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําให้สามีมารับการรักษาพร้อมกัน
แนะนําการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยโดยการสวมถุงยางอนามัย
แนะนําการเหน็บยา หรือการรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างถูกต้องและสม่ําเสมอ
แนะนําการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้แห้งสะอาดเสมอ
ให้คําแนะนําและการดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลผู้คลอดในระยะคลอด โดยให้คลอดทางช่อคลอดได้ตามปกติ
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
แนะนําให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ โดยล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
หากอาการยังไม่ดีขึ้น ให้พบแพทย์และดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์เสมอ
การติดเชื้อพยาธิในช่องคลอด
การติดเชื้อพยาธิในช่องคลอด อาจต้องงดการมีเพศสัมพันธ์ และรักษาให้หาย รวมถึงแนะนําการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อพยาธิในช่องคลอด มีความสัมพันธ์กับภาวะถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกคลอดก่อนกําหนด และทารกแรกเกิดมีน้ําหนักตัวน้อย
อาการแสดง
มีอาการระคายเคืองที่ปากช่องคลอด ในช่องคลอด ปากช่องคลอดบวมแด
อาจมีอาการปัสสาวะแสบขัดหรือบ่อย ปวดแสบปวดร้อนบริเวณต้นขาด้านใน
ลักษณะของตกขาวมีสีขาวปนเทา หรือสีเหลืองเขียว ตกขาวเป็นฟอง
เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
ผู้ติดเชื้อร้อยละ 10 ไม่แสดงอาการ มักจะพบโรคคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่นร่วมด้วยเช่น หนองใน (gonorrhea) ปากมดลูกอักเสบแบบมูกปนหนอง
การตกขาวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย(Bacterial vaginosis)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
อาจทําให้เกิดการแท้งติดเชื้อ (septic abortion)ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
มารดาหลังคลอดอาจมีไข้ ปวดท้องมาก
ถ้าไม่ได้รักษา อาจทําให้มีการติดเชื้อราได้ง่ายขึ้น ทําให้มีการติดเชื้อในมดลูก ปีกมดลูกอักเสบ และเกิดการอักเสบในอุ้งเชิงกราน
ผลกระทบต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย และทารกคลอดก่อนกําหนด
การพยาบาล
ระยะคลอด
ผู้คลอดสามารถคลอดทางช่องคลอดได้ตามปกติ โดยให้การพยาบาลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ระยะตั้งครรภ์
ให้คําแนะนําและการดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
รับประทานยาตามแพทย์สั่งให้ครบ และเน้นย้ําให้เห็นความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกไม่ให้อับชื้นโดยใช้น้ําธรรมดา
แนะนําให้พาสามีไปตรวจและรักษาโรคพร้อมกัน
ระยะหลังคลอด
2.สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ โดยเน้นเรื่องการล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
เน้นการทําความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดและแห้งเสมอ
ให้การดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
อาการแสดง
มีอาการคัน ปวดแสบปวดร้อนปากช่องคลอด ในช่องคลอด ถ่ายปัสสาวะลําบาก แสบขัด เจ็บขณะร่วมเพศ ตกขาวสีขาว สีเทา หรือสีเหลือง ข้นเหนียว มีกลิ่นเหม็นเน่าเหมือนคาวปลา
การตกขาวจากการติดเชื้อรา (Vulvovaginal candidiasis)
อาการแสดง
ประมาณร้อยละ 20 ของผู้ติดเชื้อราจะไม่มีอาการ
มีอาการคันและระคายเคืองมากในช่องคลอดและปากช่องคลอด ปากช่องคลอดเป็นผื่นแดง
อาจมีอาการเจ็บขณะร่วมเพศ (dyspareunia)
มีอาการปัสสาวะลําบาก และแสบขัดตอนสุด (external dysuria)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ ทําให้อาการของการติดเชื้อราในช่องคลอดเป็นมากขึ้นเป็น 2 เท่า มีความระคายเคือง คันช่องคลอดมากขึ้น
ผลกระทบต่อทารก
ทารกที่คลอดทางช่องคลอดจากมารดาที่มีการติดเชื้อราในช่องคลอด จะเป็นเชื้อราในช่องปาก (oral thrush) ได้มากกว่าปกติ 2-35 เท่า
ปัจจัยเสี่ยง
การรับประทานยาคุมกําเนิดชนิดที่มีปริมาณฮอร์โมนมาก (high dose)
ภูมิต้านทานของร่างกายถูกกดจากการเป็นโรคเอดส์ หรือการได้รับเคมีบําบัด
การได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์ และได้รับยากดภูมิต้านทานทําให้ภูมิต้านทานของร่างกายลดลง
การควบคุมภาวะเบาหวานไม่ดี มีระดับน้ําตาลในเลือดสูง
การรับประทานยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาบางชนิดอย่างต่อเนื่อง
การพยาบาล
ระยะคลอด
สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ตามปกติ
ระยะหลังคลอด
ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเทอโรนลดลง อาการจะดีขึ้น
การดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอ
สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาได้ โดยต้องล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
ทารกแรกเกิดอาจมีการติดเชื้อในช่องปาก ซึ่งจะพบมีฝ้าขาวในช่องปาก ให้ปรึกษากุมารแพทย์
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ เข้าใจสาเหตุของการติดเชื้อ และการดูแลตนเองให้มีอาการสุขสบาย
แนะนําการใช้ยาทา และยาเหน็บช่องคลอดตามแพทย์สั่ง โดยการเหน็บยาในช่องคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ
การทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และการทําความสะอาดชุดชั้นในต้องซักให้สะอาด
หากอาการติดเชื้อเป็นซ้ําๆ หรือสามีมีอาการแสดง ควรพาสามีให้มารักษาพร้อมกัน
หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminate)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
หากเกิดรอยโรคใหญ่อาจขัดขวางช่องทางคลอด หรือทําให้เกิดการตกเลือดหลังคลอด และมารดาหลังคลอดมีโอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูกได้
ผลต่อทารก
ทารกอาจติดเชื้อหูดหงอนไก่ระหว่างตั้งครรภ์และขณะคลอด บางรายอาจเกิด laryngeal papillomatosis ทําให้เกิดการอุดกั้นของระบบทางเดินหายใจส่วนบน เสียงร้องไห้แหบผิดปกติ
อาการแสดง
ปากช่องคลอด หรือในช่องคลอด เป็นต้น การติดเชื้อขณะตั้งครรภ์รอยโรคจะขยายใหญ่ มีผิวขรุยระคล้ายดอกกะหล่ําและยุ่ยมาก
ซิฟิลิส (Syphilis)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ทําให้ผิวหนังและเนื้อเยื่ออักเสบ คลอดก่อนกําหนด และแท้งบุตร
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกําหนด ตายคลอด ทารกแรกเกิดติดเชื้อซิฟิลิส ทารกพิการแต่กําเนิดโดยอาจพบความพิการของตับม้ามโต ทารกตัวบวมน้ํา ตัวเหลือง
อาการแสดง
ซิฟิลิสระยะที่สอง (secondary stage)
ฝ่ามือฝ่าเท้า เยื่อบุรวมทั้งอวัยวะสืบพันธุ์ โดยผื่นที่พบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์จะยกนูน ร่วมกับมีอาการไข้ ต่อมน้ําเหลืองโต เจ็บคอ ผมร่วงเป็นหย่อมๆ ปวดศีรษะ น้ําหนักลด
ระยะแฝง (latent syphilis)
ระยะนี้จะไม่มีอาการใดๆ แต่กระบวนการติดเชื้อยังดําเนินอยู่และสามารถแพร่กระจายเชื้อได้
ซิฟิลิสระยะแรก หรือระยะที่หนึ่ง (primary stage)
จะเกิดแผล กลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ เรียว่าแผล chancre บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ระยะท้ายของโรคซิฟิลิส (tertiary syphilis)
ระยะนี้เชื้อจะเข้าไปทําลายระบบหัวใจและหลอดเลือด ถ้าเชื้อเข้าสู่ระบบประสาทจะเกิดผิวหนังอักเสบ กระดูกผุ เยื่อบุสมองอักเสบ และเสียชีวิตในที่สุด
การติดเชื้อเริม (Herpes simplex)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อครั้งแรกขณะตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด ส่วนการติดเชื้อซ้ําขณะตั้งครภร์มีผลกระทบค่อนข้างน้อย
ผลกระทบต่อทารก
ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกําหนด หากทารกมีการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์
อาการแสดง
อาการของการติดเชื้อปฐมภูมิมักเกิด 3-7 วันหลังการสัมผัสเชื้อ โดยจะมีอาการปวดแสบปวดร้อน และคันบริเวณที่สัมผัสโรค จากนั้นจะกลายเป็นตุ่มน้ําใสๆ แล้วแตกกลายเป็นแผลอยู่ 2 สัปดาห์
หนองใน (Gonorrhea)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่มีอาการ มีบุตรยาก กรณีที่มีอาการขณะตั้งครรภ์จะทําให้ถุงน้ําคร่ําอักเสบและติดเชื้อ ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารก
ทารกแรกเกิดที่คลอดปกติผ่านทางช่องคลอดมีการติดเชื้อหนองในที่ปากมดลูก ช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก โ
อาการแสดง
มีการอักเสบของปากมดลูกและช่องคลอดทําให้ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก อาจพบอาการกดเจ็บบริเวณต่อมบาร์โธลิน ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิดกระปรอย เป็นหนองข้น และปัสสาวะเป็นเลือด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื่อซิฟิลิส หนองใน เริม และหูดหงอนไก่
ระยะคลอด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทําหัตถการทางช่องคลอด เช่น การตรวจทางช่องคลอด การเจาะถุงน้ําคร่ํา หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ควรทําอย่างระมัดระวังและไม่ทําให้ถุงน้ําคร่ําแตก
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ผู้คลอดที่มีการติดเชื้อหนองใน
หากไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสําหรับการผ่าตัด
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precautionเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเช่นเดียวกับระยะคลอด
แนะนํามารดาหลังคลอดเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ส่วนตัว
ประเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด ได้แก่ มีไข้ อ่อนเพลีย ดูดนมไม่ดี ตัวเหลืองชัก
แนะนําการเลี้ยงบุตร โดยล้างมือให้สะอาดก่อนจับทารกทุกครั้ง
ดูแลให้มารดาหลังคลอดและทารกได้รับยาป้องกันการติดเชื้อตามแผนการรักษา
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้เข้าใจถึงการดําเนินของโรค อันตรายของโรคต่อการตั้งครรภ์ แผนการรักษาพยาบาล
แนะนําการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์และสามี
แนะนําให้นําสามีมารับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค และหากมีการติดเชื้อแนะนําให้รักษาพร้อมกัน และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ โดยการซักประวัติโดยละเอียด ตรวจร่างกาย
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้ข้อมูลแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดําเนินของโรค ความแตกต่างระหว่างการติดเชื้อ HIV กับการเป็นเอดส์ โอกาสในการแพร่กระจายเชื้อจากมารดาสู่ทารก
แนะนําให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง เพื่อประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ รวมทั้งประเมินอาการของโรคเอดส์
ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับหลักมาตรฐานในการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และสามีที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ โดยให้คําปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือด
ระยะคลอด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ให้การดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป ได้แก่ ประเมินสัญญาณชีพ และเสียงหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด
หากปริมาณ viral load ≤ 50 copies/mL แพทย์อาจพิจารณาเจาะถุงน้ําคร่ําเพื่อชักนําการคลอด ก่อนเจาะ ขณะเจาะ และหลังเจาะถุงน้ําคร่ํา
ทําคลอดด้วยวิธีที่ทําให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดกและทารกน้อยที่สุด
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
ระยะหลังคลอด
1.ดูแลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
ให้คําแนะนําแก่มารดาหลังคลอดเพื่อป้งอกันการแพร่กระจายเชื้อ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อทารก
มีโอกาสที่ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกําหนด ทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย ทารกมีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ และทารกตายคลอด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV และมีปริมาณ CD4 ต่ํา มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนจากการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่ายขึ้น
อาการแสดง
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ
ระยะเริ่มแรกของการติดเชื้อ HIV
ระยะป่วยเป็นเอดส์