Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1แนวคิดและกระบวน การวิจัย, หมายถึง, พจนานุกรม, หลัก 3 ประการ -…
บทที่ 1แนวคิดและกระบวน การวิจัย
การวิจัย/Research
เป็นการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงและความรู้ใหม่อย่างมีระบบ
ระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายแน่นอน โดยผู้วิจัย
การสอบสวน การตรวจตรา และการค้นหา
กระบวนการ “ หาแล้วหาอีก ” จนกระทั้งมั่นใจ ได้ว่า ได้ข้อเท็จจริงในเรื่องนั้น ๆ จนถี่ถ้วนแล้ว
ลักษณะสำคัญของการวิจัย
เป็นการศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริง
เป็นกระบวนการที่มีระบบ/ระเบียบวิธีที่ชัดเจน
เป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมายแน่นอน/เฉพาะเจาะจง
ระเบียบวิธี(Methodology) ค้นหาความจริง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เป็นการค้นหาความจริง
ขั้นตอนสำคัญของการวิจัย
กำหนดหัวข้อสำหรับการวิจัย/ปัญหาวิจัย
วิเคราะห์และประเมินปัญหาการวิจัย
ทบทวนวรรณกรรม/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหาวิจัย
สร้างกรอบแนวคิด/ข้อสมมุติฐาน
กำหนดประชากรเป้าหมาย/การสุ่มตัวอย่าง
ออกแบบวิจัย
สร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บข้อมูล
ดำเนินการกับข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
เขียนรายงานการวิจัย
เผยแพร่ผลงานวิจัย
ประโยชน์ของการวิจัย
เกิดความรู้ใหม่
ช่วยแก้ปัญหาได้ถูกต้อง/ยุติธรรม
ช่วยกำหนดนโยบาย/วางแผนได้เร็ว-ประหยัด
ทำให้การปฏิบัติงานต่างๆเป็นไปอย่างถูกต้อง
ช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการดำเนินงานของ
หน่วยงาน
ผลวิจัยนำมาใช้พัฒนาหน่วยงาน/องค์กร
ช่วยให้เกิดการประสานงานระหว่างหน่วยงาน/องค์กร
ช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหาร/จัดการของหน่วยงาน
ประเภทของการวิจัย
จำแนกตามเหตุผลของการวิจัย
การวิจัยเบื้องต้น Basic research แสวงหาข้อเท็จจริงเพื่อให้เกิดความเข้าใจพื้นฐาน
การวิจัยประยุกต์(apply research)แสวงหา
ข้อเท็จจริงเพื่อน าผลไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
จำแนกตามวัตถุประสงค์
การวิจัยพรรณา(descriptive research)
การวิจัยอธิบาย(explanatory research)
จำแนกตามวิธีการเก็บข้อมูล
อาศัยการทดลอง(experimental research)มีการกระตุ้นก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงภายใต้การควบคุมดูแล
ไม่ต้องอาศัยการทดลอง(non-experimental
research)เก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพที่เป็ นอย
จำแนกตามสภาวะที่วิจัย
ควบคุมได้เต็มที่(highly controlled settings)
(ในห้องปฏิบัติการ)
ควบคุมได้บ้าง(partially controlled settings)
ควบคุมไม่ได้ (uncontrolled setting)
จำแนกตามหน่วยวิเคราะห์
การวิจัยระดับจุลภาค (micro level)
การวิจัยระดับมหภาค(macro level)
จำแนกตามลักษณะของข้อมูล
เชิงปริมาณ (quantitative research)
เชิงคุณภาพ (quanlitative research)
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
เพื่อปกป้องศักดิ์ศรี สิทธิ ความปลอดภัย และความเป็นอยู่ที่ดีของ อาสาสมัคร หรือผู้เข้าร่วมในโครงการวิจัย
หลักความเคารพในบุคคล (Respect for person)
ขอความยินยอมโดยให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนและให้
อาสาสมัครตัดสินใจ อย่างอิสระ
เคารพในความเป็นส่วนตัวของอาสาสมัคร
คารพในการเก็บรักษาความลับของข้อมูลส่วนตัวของอาสาสมัคร
เคารพในความเป็นผู้อ่อนด้อย เปราะบาง
หลักคุณประโยชน์ไม่ก่ออันตราย (Beneficence)
อันตรายต่อร่างกาย (Physical harm)
อันตรายต่อจิตใจ (Psychological harm)
อันตรายต่อสถานะทางสังคม และฐานะทางการเงิน
อันตรายทางกฎหมาย
หลักความยุติธรรม (Justice)
การเลือกอาสาสมัคร (Selection of Subjects) มีเกณฑ์การคัดเข้า และคัดออกชัดเจน ไม่มีอคติ ม่เลือกกลุ่มตัวอย่างที่หาง่าย สั่งง่าย คนจน ผู้ด้อยการศึกษา
การจัดอาสาสมัครเข้ากลุ่มศึกษา มีการสุ่มเข้ากลุ่มศึกษา
ชนิดของการพิจารณา
Full-board review ีความเสี่ยงต่ออาสาสมัคร
ปานกลางถึงสูง ต้องได้รับการลงมติในที่ประชุมของ
คณะกรรมการจริยธรรมฯ
Expedited review ที่มีความเสี่ยงต่ำหรือไม่มีความเสี่ยงต่ออาสาสมัคร หรือไม่มีอาสาสมัครร่วมโครงการ การ พิจารณาอาจเร็วขึ้นบ้าง แต่ยังต้องได้รับการรับรองจากที่ประชุมของคณะกรรมการจริยธรรมฯ
Exemption from review สามารถขอยกเว้นการรับรองการตัดสินไม่ต้องอาศัยการลงมติ แต่ต้องได้รับการรับรองจากที่ประชุมของคณะกรรมการจริยธรรมฯ
หมายถึง
พจนานุกรม
หลัก 3 ประการ