Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ตรวจพบลักษณะอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ HAV
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจหา antibody-HAV และ IgM-anti HAV
การซักประวัติ เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การสัมผัสเชื้อโรค
การป้องกันและการรักษา
ยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อ HAV ให้หายได้อย่างเด็ดขาด
ส่วนใหญ่เป็นการรักษาแบบ ประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
การตั้งครรภ์ไม่มีผลทําให้อาการของโรครุนแรงมากขึ้น
หากมีการติดเชื้อ HAV ขณะตั้งครรภ์นั้น ร่างกายมารดาจะสร้าง antibody ต่อเชื้อ HAV ซึ่งสามารถผ่านไปยังทารกในครรภ์ได้
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค
แนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
2.1 พักผ่อนอย่างเพียงพอ
2.4 หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ ได้แก่ acetaminophen และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
2.2 รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย และดื่มน้ําให้เพียงพอ
2.3 มาตรวจตามนัดเพื่อประเมินสภาวะของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และ ปวดศีรษะ มักไม่มีอาการของดีซ่าน
การติดเชื้อไวรัสซิก้า
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ตัวเหลือง ซีด บวมปลายมือ ปลายเท้า เลือดออกตามผิวหนัง มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ น้ําลาย
การซักประวัติ โดยการซักประวัติอาการของผู้ป่วย
การตรวจพิเศษ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา,ระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา,ระบบเฝ้าระวัง ทารกที่มีความพิการแต่กําเนิด,ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาท
การรักษา
การรักษาทําได้ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ํามาก ๆ และรักษาตามอาการ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มักแสดงอาการมากในไตรมาสที่ 3 อาการที่พบบ่อยในคือ มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
ความผิดปกติเกี่ยวกับ ระบบประสาท ตาและการมองเห็น ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกตายในครรภ์ และตายหลังคลอด นอกจากนี้ภาวะศีรษะเล็ก
การพยาบาล
ให้คําแนะนําในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทําให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
2.การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
3.ตรวจร่างกายทารกแรกเกิด ประเมินสภาพร่างกายทั่วไปโดยเฉพาะการวัดขนาดของศีรษะ
4.การดูแลมารดาหลังคลอดให้การดูแลเหมือนมารดาทั่วไป เน้นย้ําการรับประทานอาหารที่มี โปรตีนและวิตามินสูง
อาการและอาการแสดง
กมีอาการไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตาม ตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ การเป็นพาหะของโรคตับอักเสบจากไวรัสบี
การตรวจร่างกาย พบอาการและอาการแสดง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวเหลือง ตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจการทํางานของตับ และตรวจหา antigen และ antibody ของ ไวรัส
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกรายโดยตรวจหาHBsAgเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรกและตรวจซ้ําอีกครั้ง ในไตรมาสที่ 3
กรณีได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อ Hepatitis B virus
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่มีอาการแสดงของตับอักเสบจะไม่เส่ยี งที่ จะเกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น
ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกําหนด
ผลต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คําแนะนําแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
อธิบายแก่สตรีตั้งครรภ์เข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
ในรายที่มีการติดเชื้อเรื้อรัง แนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงและให้การดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไ
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ําคร่ํา และการตรวจทางช่องคลอด
เมื่อศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ออกจากปากและจมูกของทารกให้ มากที่สุด
ทําความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด โดยฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG)
ให้การดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด
ระยะหลังคลอด
1.ไม่จําเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทาร
แนะนําการปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับมารดาหลังคลอดทั่วไป
แนะนําให้นําทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงไม่แตกต่างกับสตรีที่ไม่ได้ตั้งครรภ
ระยะแรกผู้ที่ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ
แต่ถ้ามีอาการจะเริ่ม ด้วยมีไข้ต่ํา ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา คลําพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชา
โรคโควิด-19กับการตั้งครรภ์
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจพิเศษ ได้แก่ การตรวจเอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องอกพบมีปอดอักเสบ
การตรวจร่างกาย มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้ง หายใจ
การซักประวัติ ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
3.2 การยืนยันการติดเชื้อไวรัส โดยตรวจหา viralnucleic acid
3.3 ให้ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
3.4 การส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด
ผลกระทบต่อการสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกําหนด มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก
ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ําหนักตัวน้อย คลอดก่อนกําหนด
การพยาบาล
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีประวัติการเดินทางมาจากประเทศกลุ่ม เสี่ยง หรือสัมผัสหรือใกล้ชิดผู้ป่วย COVID-19 ควรปฏิบัติตน
การดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อและติดเชื้อ COVID-19 ยังไม่มีหลักฐาน การติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ํานมแต่อย่างใด
การดูแลและการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ COVID-19
แนวทางการปฏิบัติในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เมื่อคํานึงถึงประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
อาการและอาการแสดง
ไม่แสดงอาการใด ๆ และมีอาการและอาการแสดงของอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
สุกใส
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีไข้ มีผื่นตุ่มน้ําใสตามไรผม ตุ่มน้ําใสๆ บนฐานสีแดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ:
3.1 การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อไวรัสสุกใส
3.2 การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgG
การซักประวัติ การสัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใส หรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง เพื่อบรรเทาอาการ
การรักษาแบบเจาะจง โดยการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
การป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค หลีกเลี่ยงคนที่ป่วยเป็นสุกใส
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ปัญหาภาวะปอดอักเสบ หรือ ปอดบวม ทําให้ระบบหายใจล้มเหลว
บางรายอาจจะมีอาการทางสมอง ทําให้ซึมลง และมีอาการชัก ทําให้เสียชีวิตได้ทั้งแม่ และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์
การติดเชื้อปริกําเนิด อาจติดเชื้อผ่านทางมดลูก และช่องทางคลอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําให้พักผ่อนอย่างเต็มที่
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึ
ระยะหลังคลอด
กรณีที่มารดามีอาการ ให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ 5 วันแรกหลังคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค โดยการใช้หลัก universal precaution ในการสัมผัส น้ําคาวปลา
3.มารดามีการตกสะเก็ดแล้ว สามารถแนะนําเกี่ยวกับการให้ นมมารดาได้
แนะนําการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง พักผ่อนเพียงพอ
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันท
เน้นย้ําให้เห็นความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
อาการและอาการแสดง
มักจะมีไข้ต่ำ ๆ นํามาก่อนประมาณ 1-2 วันแล้วค่อยมีผื่นขึ้น
ลักษณะของผื่น และตุ่ม มักจะขึ้นตาม ไรผม หรือหลังก่อน จะเห็นเป็นตุ่มน้ําใสๆ บนฐานสีแดง
การติดเชื้อโปรโตซัว
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มักไม่แสดงอาการ หรือมีอ่อนเพลียเล็กน้อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
3.2 การวินิจฉัยก่อนคลอด
3.3 การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การซักประวัติ ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด เน้นเรื่องการรักษาความสะอาด
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเปิดโอกาสให้ซักถาม
ติดตามผลการตรวจเลือด
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา
แนะนําเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การแท้ง คลอดก่อนกําเนิด ถุงน้ําคร่ําและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด รกลอกตัวก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ข้ ชัก ทารกหัวบาตร microcephaly, chorioretinitis, หินปูนจับในสมอง
ตับและม้ามโต ตาและตัวเหลือง ทารกมักเสียชีวิตหลังคลอด และทารกที่ติดเชื้อ สมองและตาจะถูก ทําลาย
แนวทางการป้องกันและการรักษา
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก
เมื่อต้องให้การดูแลสวนหญ้า แนะนําให้สวมถุงมือยาง
หากจําเป็นต้องทําความสะอาดอุจจาระแมว สวมถุงมือยาง
ถ้าพบ IgM ในมารดา อนุมานว่ามีการติดเชื้อ
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
การเจาะเลือดสายสะดือทารกเพื่อหาการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
มักไม่ค่อยแสดงอาการ ถ้ามีจะมีอาการน้อย อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้ออ่อน
หัดเยอรมัน
การประเมนิ และการวินิจฉัย
การซักประวัติ การสัมผัสผู้ติดเชื้อหัดเยอรมัน หรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI)
การตรวจร่างกาย อาจพบผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อย ครั่นเนื้อครั่นตัว ต่อมน้ําเหลืองโต บางรายอาจไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่เกิดผลกระทบต่อมารดา แต่อาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยเท่านั้น
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความผิดปกติถาวร
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิด แต่ปรากฏภายหลัง
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว เ
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกันเนื่องจากเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง คุ้มกับค่าใช้จ่าย
ทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อ น้ําเหลืองบริเวณหลังหูโต อาจมีอาการปวดข้อ โดยไข้จะเป็นอยู่ 1-2 วันก็จะหายไป
การพยาบาล
ในสตรีที่มาฝากครรภ์ควรตรวจดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือไม่
แนะนําให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมัน
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดําเนินของโรค ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
กรณีที่ตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ เตรียมร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ให้พร้อมสําหรับการ ทําแท้งเพื่อการรักษา
รายที่ตัดสินใจดําเนินการตั้งครรภ์ต่อ และคลอดทารกที่มีความพิการ ดูแลด้านจิตใจของมารดา และครอบครัว
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส
การประเมินและการการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ข้ออักเสบ และตรวจพบอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การเจาะเลือดส่งตรวจพบ Atypical Lymphocytes และเอ็นไซน์ตับสูงขึ้น
3.2 Amniocentesis for CMV DNA PCR
3.3 การตรวจ Plasma specimen for culture
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติการติดเชื้อในอดีต
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
1.ป้องกันได้โดยการ หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มีการติดเชื้อ
สตรีที่เคยมีประวัติการติดเชื้อ CMV ควรวางแผนเว้นระยะการมีบุตรไปก่อนอย่างน้อย 2 ปี
วิธีการหลักในการป้องกันคือการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล
การรักษา
การให้ immunoglobulin ของ anti-cytomegalo viral human
2.การใหย้าต้านไวรัสเช่นValtrex,Ganciclovil,Valavirเป็นต้น
การประเมินอาการและอาการแสดงของทารกแรกเกิดที่มีการติดเชื้อ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีการติดเชื้อซ้ํา หรือติดเชื้อ ใหม่ในขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะ IUGR แท้ง fetal distress คลอดก่อนกําหนด
น้ําหนักแรกเกิดน้อย ทารกเสียชีวิตในครรภ์ และตายคลอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด
4.แนะนําให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกทตี่้องรีบพามาพบแพทย์
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรค สาเหตุ อาการและอาการแสดง
3.แนะนําและเน้นย้ําให้เห็นความสําคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
ข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการ ปอดบวม ตับอักเสบ และอาการทางสมอง