Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ
(hepatitis A virus: HAV)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และปวดศีรษะ
ผลกระทบ
อาจมีการแพร่กระจายเชื้อไปยังทารกในระยะคลอด หรือระยะหลังคลอดได้
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ การรับประทานอาหาร
การตรวจร่างกาย มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้
อาเจียน ท้องอืด และอาจมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจหา antibody-HAV และ IgM-anti HAV
การป้องกันและการรักษา
รักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
การพยาบาล
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว พักผ่อนอย่างเพียงพอ รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
(Hepatitis B virus)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณ
ชายโครงขวา คลำพบตับโตกดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชา
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : เพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ต่อทารก : น้ำหนักตัวน้อย ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ พาหะของโรคตับอักเสบจากไวรัสบ
การตรวจร่างกาย : คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวเหลือง ตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจหา antigen และ antibody
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
แนะนำให้พาสมาชิกในครอบครัวและสามีมาตรวจเลือด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : ตรวจคัดกรอง . ให้คำแนะนำ แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การป้องกันการติดเชื้อ
ระยะคลอด : นอนพักบนเตียง หลีกเลี่ยงการ
เจาะถุงน้ำคร่ำ ทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ระยะหลังคลอด : แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
หัดเยอรมัน
(Rubella/German measles)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อมน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต อาจมีอาการปวดข้อ
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : อาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยเท่านั้น
ต่อทารกในครรภ์ : ตับม้ามโต ตัวเหลือง โลหิตจาง เกล็ดเลือดต่ำ ปอดบวม กระดูกบาง หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด (ต้อกระจก, ต้อหิน) สมองพิการ และปัญญาอ่อน ภาวะเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์ สูญเสียการได้ยิน ลิ้นหัวใจผิดปกติ ความดันโลหิตสูง สมองอักเสบ
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ : สัมผัสผู้ติดเชื้อหัดเยอรมัน
การตรวจร่างกาย : อาจพบผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อย ครั่นเนื้อครั่นตัว ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI)
การป้องกันและการรักษา
ควรเน้นการฉีดวัคซีนในเด็กหญิง สตรีวัยเจริญพันธุ์ และคัดกรอง
เลือดจากสายสะดือส่งตรวจเพื่อยืนยันการติดเชื้อและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมัน แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินของโรค
สุกใส
(Varicella-zoster virus: VZV)
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ ผื่น และตุ่ม มักจะขึ้นตามไรผม หรือหลังก่อน จะเห็นเป็นตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : อาจจะมีอาการทางสมอง ทำให้ซึมลง และมีอาการชัก ทำให้เสียชีวิตได้
ต่อทารก : การติดเชื้อในครรภ์ ติดเชื้อปริแต่กำเนิด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ การสัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใส
การตรวจร่างกาย มีไข้ มีผื่นตุ่มน้ำใสตามไรผม ตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM, IgG
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ไม่สัมผัสโรค รักษาแบบประคับประคอง
การพยาบาล
ก่อนตั้งครรภ์ : วางแผนตั้งครรภ์ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภอย่างน้อย 1 เดือน
ตั้งครรภ์ : พักผ่อนอย่างเต็มที่ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ระยะคลอด : ควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด : แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ 5 วันแรกหลังคลอด ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง รับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันที
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส
(Cytomegalovirus: CMV)
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการปอดบวม ตับอักเสบ และอาการทางสมอง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : ติดเชื้อซ้ำหรือ
ติดเชื้อใหม่ในขณะตั้งครรภ์
ต่อทารก : ภาวะ IUGR แท้ง fetal distress คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดน้อย ทารกเสียชีวิตในครรภ์ และตายคลอด
การประเมินและการการวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติการติดเชื้อในอดีต
การตรวจร่างกาย มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ข้ออักเสบ และตรวจพบอาการและอาการแสดงของโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Atypical Lymphocytes, Amniocentesis
for CMV DNA PCR, ตรวจ Plasma specimen for culture
การตรวจพิเศษ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มีการติดเชื้อ
วางแผนเว้นระยะการมีบุตรไปก่อนอย่างน้อย 2 ปี
รักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล ล้างมือด้วยสบู่
การรักษา
ให้ immunoglobulin ของ anti-cytomegalo viral human
ให้ยาต้านไวรัส เช่น Valtrex, Ganciclovil, Valavir
ประเมินอาการและอาการแสดง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรค สาเหตุ
อาการและอาการแสดง การดำเนินของโรค ผลกระทบ และแผนการรักษาพยาบาล
แนะนำและเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด : เน้นหลัก Universal precaution ควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด : งดให้นมมารดา เน้นย้ำเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดและ
ความสำคัญของการมาตรวจตามนัดหลังคลอด สังเกตอาการผิดปกติของทารก
การติดเชื้อโปรโตซัว
(Toxoplasmosis)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : การแท้ง คลอดก่อนกำเนิด ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดรกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารกในครรภ์ : ไข้ ชัก หัวบาตร หินปูนจับสมอง ตับม้ามโต ตาและตัวเหลือง เสียชีวิตหลังคลอด ติดเชื้อสมองและตาถูกทำลาย
การประเมินและการวินิจฉัย
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค
ทางห้องปฏิบัติการ: ตรวจเลือดหา
DNA ของเชื้อ พบ IgA และ IgM
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ไม่ปล่อยให้แมวออกนอกบ้าน สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : ให้ความรู้ ติดตามผลตรวจเลือด เน้นรักษาอย่างต่อเนื่อง
ระยะคลอด : เหมือนผู้คลอดทั่วไป หลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะหลังคลอด : เฝ้าระวงการตกเลือด การติดเชื้อ เน้นเรื่องรักษาความสะอาด
การติดเชื้อไวรัสซิก้า
(Zika)
อาการและอาการแสดง
ไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : ไข้ หนาวสั่น ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อตึงตัว อ่อนเปรี้ยเพลียแรง ตัวตาเหลือง ชา อัมพาตครึ่งซีก ตาแดง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดตามร่างกาย ซีด บวม คลื่นไส้อาเจียน
ต่อทารก : ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาท ตาและการมองเห็น ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า ทารกตายในครรภ์ ตายหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ตัวเหลือง
ซีด บวมปลายมือปลายเท้า เลือดออกตามผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ
ทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ น้ำลาย
การตรวจพิเศษ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การป้องกัน
ระบบการเฝ้าระวัง ครอบคลุม 4 ด้าน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด
ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาท
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศที่มีการระบาดของโรค
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิ
เน้นย้ำการมาตรวจครรภ์ตามนัด
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
อุณหภูมิร่างกายมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : ติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารกในครรภ์ : พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ สัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ
ระยะเวลาและการเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยง
การตรวจร่างกาย ไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ ตรวจหา viralnucleic acid ด้วยวิธี real-time polymerase chain reaction (RT-PCR) ้ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
การตรวจพิเศษ ตรวจเอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
แนวทางการรักษา
สถานที่และบุคลากร : บุคลากรต้องใส่ full PPE
สงสัยจะติดเชื้อ : ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs เลื่อนผ่าตัดคลอดอย่างน้อย 14 วัน
อาการไม่รุนแรง : ให้ยาต้านไวรัส
อาการรุนแรง : ยุติการตั้งครรภ์ On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป ให้ออกซิเจนทาง cannula
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
รักษาระยะห่าง social distancing
ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำสะอาดนานอย่างน้อย 20 วินาที