Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มี ภาวะแทรกซ้อน, นางสาวรินรดา อยู่สวัสดิ์ เลขที่…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มี
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกตายในครรภ์ Fetal death in utero
ความหมาย
การตายของทารกก่อนจะคลอดออกมาโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
HF<GA,ฟังFHSไม่ได้,คลำพบกะโหลกศีรษะนิ่มกว่าปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Deuel sign คือ มีการต้ังของของเหลวระหว่างช้ันไขมันของหนังศีรษะและ กะโหลกศีรษะเป็นช่องว่างรอบๆกระดูกกะโหลกศีรษะ
กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
Spalding’s sign แสดงว่ามีการเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่
DFIU > 2 wks. ควรตรวจเลือดเพื่อดู clotting time และ fibrinogen ทุกสัปดาห์ ถ้าพบว่า ระดับ fibrinogen<100mg.%ต้องทาให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
DFIU > 4 wks. ทำให้เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัวพบประมาณ 25 % เนื่องจากการลดลง ของไฟบริโนเจนในเลือด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
Fetal anomalies
เน้นการดูแลด้านจิตใจ การให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
Unwantedpregnancy
เน้นการให้คำปรึกษาการให้ข้อมูล
Elderly gravida
เน้นการคัดกรองภาวะเสี่ยง เช่น เบาหวาน ความดัน ดาวน์ซินโดรม
Drug addicted pregnancy
การดูแลทารก
Teenage pregnancy
เน้นการให้คำปรึกษา
Abuse during pregnancy
เน้นการให้คำปรึกษา การช่วยเหลือ
ครรภ์แฝด multiple pregnancy
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่เกิดทารกในครรภ์มากกว่า 1 คนขึ้นไป
ชนิด
Monozygotic (Identical) twins คือ ครรภ์แฝดซึ่งเกิดจากการปฏิสนธิของ ไข่ใบเดียวกับอสุจิตัวเดียว แล้วมีการแยกเป็น 2 ตัวอ่อน
Dizygotic (Fraternal) twins คือ ครรภ์แฝดท่ีเกิดจากการผสมของไข่ 2 ใบ กับอสุจิ 2 ตัวเพศของทารกอาจะเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกัน
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
ฟังเสียงหัวใจทารกได้2ตำแหน่ง
การอัลตราซาวน์
การซักประวัติ
ภาวะแทรกซ้อนในทารก
Monoamnionic twins การเพิ่มอัตราการเสียชีวิตของทารกจาก ภาวะสายสะดือพันกัน แฝดติดกัน
Monochorionic Twins and Vascular Anastomoses
Twin to Twin Transfusion Syndrome (TTTS) เป็นภาวะที่มีการถ่ายเทเลือดจากทารกคนหนึ่งไปยังทารกแฝดอีกคน
Single Fetal Demise การเสียชีวิตของแฝดคนหนึ่งระหว่างการตั้งครรภ์
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด Premature rupture of membranes
การวินิจฉัย
Specculum Exam มีน้ำขังที่ posterior fornix เมื่อให้ไอหรือเบ่ง
ทำNitrazine test เพื่อทดสอบความเป็นด่างของน้ำคร่ำที่แตกต่างจากน้ำในช่องคลอดที่มีฤทธ์ิเป็นกรด
ประวัติน้ำใสไม่ใช่มูกหรือตกขาวไม่ใช่ปัสสาวะเพราะกลั่นไม่ได้
Fern test นำน้ำที่สงสัยไปป้ายสไลด์ทิ้งให้แห้ง ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ หากเป็นน้ำคร่ำจะพบผลึกรูปใบเฟิร์น
สาเหตุ
รกเกาะต่ำ/ลอกตัวก่อนกำหนด
แฝด/แฝดน้ำ
การติดเชื้อ
Incompetence cervix
ขาดวิตามิน
ทารกท่าผิดปกติ
สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
ผลต่อมารดา
ติดเชื้อ
การคลอดก่อนกำหนด
การคลอดเนิ่นนาน จาก dry labour
ผลต่อทารก
ติดเชื้อ
RDS ขาดออกซิเจน
Amniotic Band, IUGR(จากน้ำคร่ำน้อย)
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การดูแล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
พักบนเตียง
ดูแลการให้ dexamethazone เพื่อเพิ่ม lung maturity
No P.V., No P.R , No SSE.
ดูแลการให้ Tocolytic Agent ประเมินชีพจรทุกครั้งก่อนให้ยา
ความผิดปกติของน้ำคร่ำ Polyhydramnios and Oligohydramnios
ความหมาย
ดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid index, AFI) ได้จากการ ผลรวมของค่าได้จากการวัดแอ่งน้ำคร่ำท่ีลึกที่สุด ถ้าน้อยกว่า 5ซม ถือว่ามีภาวะน้ำคร่ำน้อยถ้าน้ำคร่ำ 25ซม ถือว่าเป็นครรภ์แฝดน้ำ
สาเหตุ
สาเหตุที่เกี่ยวกับทารก ความพิการของทารกซึ่งส่วนใหญ่สัมพันธ์กับการกลืนของทารกต้ังแต่ความผิดปกติ ของระบบประสาทลงมาถึงการอุดกั้นของทางเดินอาหาร
สาเหตุที่เกี่ยวกับมารดาได้แก่ มารดาเป็นเบาหวาน
สาเหตุที่เกี่ยวกับรก เช่น เนื้องอกของรก chorioangioma
ไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ขนาดมดลูกใหญ่กว่าอายุครรภ์ ร่วมกับการที่คลำส่วนของทารกในครรภ์ได้ยาก ฟังเสียงหัวใจทารกได้ยาก
ซักประวัติ
อัลตราซาวด์
ภาวะน้ำคร่ำมาก
ผลกระทบต่อมารดา
มารดาหายใจลำบาก คลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด สายสะดือย้อย รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะครรภ์เป็นพิษ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ รวมถึงการตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
นอนพักในโรงพยาบาลและ พิจารณาเจาะน้ำคร่ำออกเพื่อลดปริมาณน้ำคร่ำลง
การดูดน้ำคร่ำออก(amnioreduction)
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ความหมาย
ภาวะตั้งครรภ์ที่มีจานวนน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ จากค่าปกติมากอาจจะลดลงจนเหลือเพียง2-3มล ภาวะนี้มักมีน้ำคร่ำประมาณ100-300มล
การรักษา
สารเคลือบ(sealants)
การดื่มน้ำมาก ๆ ทำให้เพิ่มขึ้นเล็กน้อยและชั่วคราว
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion)
แพ้ท้องรุนแรง hyperemesis gravidarum
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
การปรับตัวของหญิงตั้งครรภ์
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
พบในไตรมาสแรก
Estrogen
การเคยตั้งครรภ์แฝดและไข่ปลาอุก
การรักษา
ป้องกันท้องผูก
ให้อาหารเหลว อ่อน NPOกรณีมีอาการมาก
ให้ยาแก้อาเจียน B6
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินการขาดน้ำและเกลือแร่ของร่างกาย
อาการ
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 สัปดาห์
อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาเจียนติดต่อกัน 5-10 คร้ังต่อวัน
มีภาวะเลือดเป็นกรด(Acidosis)
น้ำหนักลด ขาดสารอาหาร
อาการรุนแรงมาก
อ่อนเพลีย ซูบผอม น้ำหนักลดมาก
เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
อาเจียนทันทีและอาเจียนติดต่อกันเกิน4สัปดาห์
ปัสสาวะขุ่นและออกน้อย
อาเจียนมากกว่า10คร้ังต่อวัน
อาการไม่รุนแรง
ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดเล็กน้อย
อาเจียนน้อยกว่า 5 คร้ังต่อวัน สามารถ
ทำงานได้ตามปกติ
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด preterm labor
ความหมาย
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ(อย่างน้อย4 ครั้งใน20นาที หลังอายุครรภ์20สัปดาห์และก่อน37สัปดาห์ ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ปัจจัยเสี่ยง
Exposure to diethystilbestrol
Hydramnios
Multiple gestation ครรภ์แฝด
Uterine anomaly
Preterm birth prevention
ระดับทุติยภูมิ(Secondary) เพื่อกำจัดหรือลดความเสี่ยงในผู้หญิงที่มีปัจจัยเสี่ยง เช่น เคยคลอด บุตร preterm , PROM มาก่อน
ระดับตติยภูมิ(Tertiary)เมื่อเกิดการเจ็บครรภ์คลอด เป้าหมายเพื่อป้องกันการคลอด หรือลดภาวะแทรกซ้อน
ระดับปฐมภูมิ(Primary)เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยง ในผู้หญิงทุกคนก่อนและขณะตั้งครรภ์
การป้องกันภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การนอนพัก
การใช้ยาปฏิชีวนะ
การมีเพศสัมพันธ์
การเย็บผูกปากมดลูก(cervical cerclage)
การให้ยา progesterone
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ Intrauterine Growth Restriction
สาเหตุ
ภาวะโภชนาการ
การใช้สารเสพติดต่างๆ เช่น เหล้า บุหรี่
BMI ก่อนตั้งครรภ์ , น้ำหนักขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
preeclampsia ,เบาหวาน ,ความดันโลหิตสูง
การดูแลรักษา
fundal height (FH) เล็กกว่า GA ต้ังแต่ 3 cm ขึ้นไป ให้สงสัยภาวะ IUGR
แนะนำให้ตรวจ serial ultrasonographyทุก3-4สัปดาห์(ไม่ถี่กว่าทกุ 2 สัปดาห์)
ติดตาม ultrasonography เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของทารก,การดูปริมาณ น้ำคร่ำ,umbilicalartery DopplervelocityและNSTหรือBPP
ครรภ์เกินกำหนด postterm pregnancy
ความหมาย
การต้ังครรภ์ที่มีอายุครรภ์42สัปดาห์เต็ม หรือมากกว่าโดย เริ่มนับจากวันแรกของประจพเดือนคร้ังสุดท้าย
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่อาจเกิดจากความผิดปกติ ของทารกในครรภ์ เช่นAnencephalyต่อมใต้สมองผิดปกติ ต่อมหมวกไตฝ่อและ การขาดฮอร์โมนPlacental sulfatase deficiency ทให้สมาชิกร้างฮอร์โมนเอสโตรเจน น้อยลง จึงไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ลักษณะทารก
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอกเนื่องจากสูญเสียไขมันใต้ผิวหนัง มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว รูปร่างผอม
ผลกระทบของการตั้งครรภ์เกินกำหนดต่อทารก (Perinatal risks)
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ผิดปกติ
ขี้เทาปนในน้ำคร่ำและปัญหาการสำลักขี้เทา
Morbidity and Mortality
นางสาวรินรดา อยู่สวัสดิ์ เลขที่ 42 รหัสนักศึกษา 61128301043