Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
**พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พุทธศักราช ๒๕๓๔,…
**พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พุทธศักราช ๒๕๓๔
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า“ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการน้องแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น
มาตรา ๓
ให้ยกเลิก (๑) ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕
มาตรา ๔
ให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(๑) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
(๒) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
(๓) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๕
การแบ่งราชการออกเป็นส่วนต่าง ๆ
ส่วนที่ ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
มาตรา ๗
ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ดังนี้
๑) สำนักนายกรัฐมนตรี
(๒)
กระทรวง
หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
(๓)
ทบวง
ซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(๔)
กรม
หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม
มาตรา ๘
การจัดตั้งการรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗
มาตรา ๘ ทวิ
* การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗
มาตรา ๘ ตรี *
การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการตามมาตรา ๗
มาตรา ๘
จัตวาการยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗
มาตรา ๘
เบญจ” พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๘ ทวิหรือมาตรา ๘ จัตวา
มาตรา ๘
ฉ การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานรัฐมนตรีกรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม
มาตรา ๘ สัตต” ให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
มาตรา ๘
อัฏฐการแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันในทบวง
หมวด ๑
การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๑๖
สำนักนายกรัฐมนตรี นอกจากมีนายกรัฐมนตรีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีให้มีปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง
มาตรา ๑๒
ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม แต่มิได้สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือทบวง
มาตรา ๙
การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๑๐
สำนักนายกรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม
มาตรา ๑๑
นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๑๓
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
มาตรา ๑๔
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์
มาตรา ๑๕
ในสำนักนายกรัฐมนตรีอาจมีส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีได้ตามที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๑๗
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
หมวด ๒
การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง
มาตรา ๑๙
กระทรวงมีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๑๘
ให้จัดระเบียบราชการของกระทรวง
มาตรา ๒๐
ภายใต้บังคับบทบัญญัติ มาตรา ๑๑ ในกระทรวงหนึ่ง
มาตรา ๒๑
ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๒
สำนักงานรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
มาตรา ๒๓
สำนักงานปลัดกระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไป
มาตรา ๒๔
การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวงให้อนุโลมตามการจัดระเบียบราชการของกระทรวงซึ่งบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๘ ถึงมาตรา ๒๓
หมวด ๕
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๓๔
อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติการปฏิบัติราชการหรือการดำเนินการอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย กฎระเบียบประกาศหรือคำสั่งใด
มาตรา ๓๙
เมื่อมีการมอบอำนาจแล้วผู้รับมอบอำนาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอำนาจนั้น
มาตรา ๔๐
ในการมอบอำนาจให้ผู้มอบอำนาจพิจารณาถึงการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
หมวด ๓
นการจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
มาตรา ๓๑
กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือทบวง
มาตรา ๓๒
กรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามที่กำหนดในกฎกระทรว
มาตรา ๓๓
สำนักงานเลขานุการกรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของกรมและราชการที่มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใด
มาตรา ๓๔
กระทรวงทบวงกรมใดมีเหตุพิเศษจะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้มีหัวหน้าส่วนราชการประจำเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อเพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการก็ได้
มาตรา ๓๕
กระทรวง ทบวง หรือกรมใด โดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจราชการของกระทรวงทบวงหรือกรมนั้น
มาตรา ๓๖
ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมจะมีเลขาธิการกฤษฎีกาผู้อำนวยการ
มาตรา ๓๗
ให้นำความในมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ มาใช้บังคับแก่ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมโดยอนุโลม
หมวด ๔
การจัดระเบียบราชการในกรม
มาตรา ๓๑
กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือทบวง
มาตรา ๓๒
กรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามที่กำหนดในกฎกระทรว
มาตรา ๓๓
สำนักงานเลขานุการกรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของกรมและราชการที่มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใด
มาตรา ๓๔
กระทรวงทบวงกรมใดมีเหตุพิเศษจะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้มีหัวหน้าส่วนราชการประจำเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อเพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการก็ได้
มาตรา ๓๕
กระทรวง ทบวง หรือกรมใด โดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจราชการของกระทรวงทบวงหรือกรมนั้น
มาตรา ๓๖
ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมจะมีเลขาธิการกฤษฎีกาผู้อำนวยการ
มาตรา ๓๗
ให้นำความในมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ มาใช้บังคับแก่ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมโดยอนุโลม
หมวด ๖ การรักษาราชการแทน
มาตรา ๔๑
ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๒
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๓
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๔
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติกฤษราชการได้ให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๕
มาใช้บังคับแก่กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งปลัดทบวงหรือรองปลัดทบวงตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๘ ด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๔๖
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งอธิบดีหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้กฤษฎีให้รองอธิบดีเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๗
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขานุการกรมตามมาตรา ๓๓
มาตรา ๔๘
ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัตินี้มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
มาตรา ๔๙
การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบกระเทือน อำนาจนายกรัฐมนตรีรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ปลัดกระทรวง
มาตรา ๕๐
ความในหมวดนี้มิให้ใช้บังคับแก่ราชการในกระทรวงที่เกี่ยวกับทหาร
หมวด ๗
การบริหารราชการในต่างประเทศ
มาตรา ๖
ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ส่วนที่ ๒ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
หมวด ๑ จังหวัด
มาตรา ๕๒
ให้รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๕๓
ในจังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรมการจังหวัดทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๕๔
ในจังหวัดหนึ่งให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่งเป็นผู้รับนโยบายและคำสั่งจากนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๕๕
ในจังหวัดหนึ่งนอกจากจะมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการ
มาตรา ๕๖
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
มาตรา ๕๗
ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่ ดังนี้
๑. บริหารราชการตามกฎหมาย
๒. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี
๓. บริหารราชการตามคำแนะนำ
๔. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการ
๕. ประสานงานและร่วมมือกับราชการ
มาตรา ๕๘
การยกเว้น จำกัด หรือตัดทอนอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๕๙
ให้นำความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๔ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติราชการแทนตามหมวดนี้
มาตรา ๖๐
ให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัด ดังนี้
(๑) สำนักงานจังหวัดมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัด
(๒) ส่วนต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้นมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงทบวงกรมนั้น ๆ
มาตรา ๕๑
ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดังนี้
(๑) จังหวัด
(๒) อำเภอ
หมวด ๒ อำเภอ
มาตรา ๖๑
ในจังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัดเรียกว่าอำเภอการตั้งยุบและเปลี่ยนเขตอำเภอให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๖๒
ในอำเภอหนึ่งมีนายอำเภอคนหนึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการในอำเภอและรับผิดชอบงานบริหารราชการของอำเภอ
มาตรา ๖๓
ในอำเภอหนึ่งนอกจากจะมีนายอำเภอเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาและรับผิดชอบดังกล่าวในมาตรา ๖๒
มาตรา ๖๔
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งปลัดอำเภอ
มาตรา ๖๕
นายอำเภอมีอำนาจและหน้าที่ ดังนี้
(๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ
๒) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรีกระทรวงทบวงกรมมอบหมาย
(๓) บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๖๖
ให้แบ่งส่วนราชการของอำเภอ ดังนี้
(๑) สำนักงานอำเภอมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอำเภอนั้น ๆ
(๒) ส่วนต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมได้ตั้งขึ้นในอำเภอนั้นมีหน้าที่เกี่ยวกับกฤษฎีการาชการของกระทรวง ทบวงกรมนั้น ๆ
มาตรา ๖๗
ให้นำความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษา
มาตรา ๖๘
การจัดการปกครองอำเภอนอกจากที่ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปกครองท้องที่
ส่วนที่ ๓ เท่านักงานคณะกรรมการรษาการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๖๙
ท้องถิ่นใตที่เห็นสมควรจัดให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองท้องถิ่นให้จัดระเบียบการปกครองเป็นราชการส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๗๐
ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นดังนี้
(๑) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(๒) เทศบาล
(๓) สุขาภิบาล
(๔) ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนด
มาตรา ๗๓
การจัดระเบียบการปกครององค์การบริหารส่วนจังหวัดเทศบาลสุขาภิบาลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
มาตรา ๗๑/๑
"ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า“ ก.พ.ร. ”
มาตรา ๗๒/๒
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) ไม่เป็นบุคคลล้มละลายคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๓) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด
(๔) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๕) ไม่เคยถูกไล่ออกปลดออกหรือให้ออกจากราชการหน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๗๑/๔
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๗๑/๓
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา ๗๑/๕
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระและยังมิได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่างให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้
มาตรา ๗๑/๖
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง
มาตรา ๗๑/๗
การประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งกฤษฎีกาของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๗๑/๘
การปฏิบัติหน้าที่และค่าตอบแทนของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ต้องทำงานเต็มเวลา
มาตรา ๗๑/๙
ให้มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๗๑/๑๐
ก.พ.ร. มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี
(๔) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐาน
๒) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐ
(๕) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี
(๓) รายงานต่อคณะรัฐมนตรี
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๗๒
คำว่า“ ทบวงการเมือง” ตามกฎหมายอื่นที่มีอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้หมายความถึงกระทรวงทบวงกรมตามพระราชบัญญัตินี้แล้วแต่กรณี
มาตรา ๗๓
พระราชกฤษฎีกาและประกาศของคณะปฏิวัติเกี่ยวกับการจัดระเบียบราชการในสำนักงานรัฐมนตรี
มาตรา ๗๔
พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานรัฐมนตรีและกรม
มาตรา ๗๕
บทบัญญัติแห่งกฎหมายกฎข้อบังคับระเบียบหรือคำสั่งใดอ้างถึงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๓๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕
นางสาวเพ็ญพิสุทธิ์ แพรวกลาง รหัส ๐๔๗
ปี ๔ หมู่ ๒ สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์