Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม - Coggle Diagram
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
4.การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
1.จัดเตรียมอุปกรณ์
2.สรุปข้อมูล
3.ใช้โปรแกรมกราฟิกออกแบบ
4.จัดวางองค์ประกอบ
5.ตกแแต่งให้สวยงาม
1.การระบุปัญหา
WHEN คือ ปัญหาหรือความต้องการเกิดขึ้นเมื่อใด
WHY สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาหรือความต้องการ
WHAT คือ ปัญหาหรือความต้องการคืออะไร
HOW คือ จะหาวิธีแก้ปัญหาหรือความต้องการนี้ได้อย่างไร
WHO คือ ปัญหาหรือความต้องการเกิดขึ้นกับใคร
6.การนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
1.เลือกรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม เช่น เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ ระยะเวลาที่ใช้
2.นำเสนอเนื้อหาให้ตรงวัตถุประสงค์ชัดเจน
3.มีบุคลิกภาพที่ดี
4.ใช้ภาษาที่สุภาพ เข้าใจง่าย ลำดับเรื่องราวเป็นขั้นตอน เน้นประเด็นที่สำคัญ ถาม - ตอบเพื่อกระตุ้นความสนใจ รับฟังข้อเสนอแนะ
3.การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
1.การร่างภาพ
การถ่ายทอดเป็นชิ้นงาน ภาพจะต้องแสดงรายละเอียดในแต่ละส่วน ซึ่งอาจแสดงัดส่วน รูปร่าง ลักษณะ
2.เขียนแผนภาพ
การถ่ายทอดเป็นวิธีการ สร้างลำดับขั้นตอนการทำงาน ในลักษณะของรูปภาพ
3.เขียนผังงาน
การถ่ายทอดการแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน โดยการแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน ตั้งแต่เริ่มต้น ไปจนถึงจุดจบ
4.สร้างแบบจำลอง
การถ่ายทอดเป็นชิ้นงาน เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ ตรวขจสอบ นำเสนอแนวคิดในด้านที่ต้องการ
5.การทดสอบ ประเมินผล และ
ปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
1.เลือกวิธีการ หรือเครื่องมือวัด
คือ การสนทนาหรือการพูดตอบกัน อย่างมีจุดหมายระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายคือ ผู้สัมภาษณืกับผู้ให้สัมภาษณ์เพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ความรู้สึก ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
2.กำหนดประเด็นในการทดสอบ
1.กำหนดหัวข้อในการทดสอบใชัดเจ้น
2.การทดสอบต้องเห็นเป็นรูปธรรม
3.มีความเที่ยงตรง
4.เชื่อถือได้
5.สามารถวัดปริมาณได้
3.ทำการทดสอบ
1.ปฏิบัติตาม
2.ดูผลที่ได้
4.การประเมินผล
กระบวนการในการสรุป ตัดสิน คุณลักษณะ โดยเปรียบเทียบกับ เกณฑ์ตัดสินคุณภาพที่กำหนดไว้
5.การปรับปรุง แก้ไข
ตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่องของชิ้นงานยหรือวิธีการ
2.การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
1.กำหนดประเด็นที่ต้องการสืบค้น
เป็นการวางแผนการสืบค้นข้อมูล ให้ตรงจุดประสงค์ และช่วยประหยัดเวลาในการสืบค้น
2.เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
1.การสังเกต
2.การสัมภาษณ์ จากผู้มีความรู้ผู้เชี่ยวชาญ
3.การทดลองทางวิทยาศสาตร์
4.การสืบค้นจากเอกสาร บทความ งานวิจัย
5.การสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตที่น่าเชื่อถือ
3.ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
1.ผู้ให้ข้อมูล
2.วันที่ เวลาที่สืบค้น
3.ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหา
4.พิจารณาเลือกข้อมูลและสรุปแนวทางแก้ปัญหา
1.กิจกรรมที่ผู้สร้างจัดทำขึ้นเอง เช่น ตัวอย่าง กิจกรรมธนคารขยะ
2.ประชาสัมพันธ์รณรงค์