Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ตัวคงที่ (constant)
การประกาศตัวคงที่
ใช้คําหลัก const
const ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร = ค่าที่เก็บในตัวแปร;
ใช้ตัวประมวลผลก่อน
define ชื่อตัวคงที่ ค่าคงที่
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ข้อความสั่งประกาศครอบคลุม (global declaration statements)
รหัสต้นฉบับ (source code)
ต้นแบบฟังก์ชัน (function prototypes)
ฟังก์ชันหลัก (main function หรือ function main())
ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน(preprocessor statements)
นิพจน์ (expressions)
ในภาษาซี นิพจน์ หมายถึง สิ่งที่ประมวลผลแล้วสามารถให้เป็นค่าตัวเลขได้ ซึ่งแต่ละนิพจน์จะมีระดับ
ความยากง่ายในการประมวลผลที่แตกต่างกัน
ตัวแปร (variables)
:
ชนิดข้อมูล(data types)
character
integer
single – precision
floating – point
double – precision
floating - point
ตัวแปรชนิดตัวเลข (numeric variable types)
ตัวแปรจํานวนจริง (real variables)
ตัวแปรจํานวนเต็ม (integer variables)
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
ประกอบด้วย a ถึง z, 0 ถึง 9 และ _ เท่านั้น
อักขระตัวแรกต้องเป็น a ถึง z และ _
ห้ามใช้ชื่อเฉพาะ
ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก มีความหมายที่แตกต่างกัน
ยาวสูงสุด 31 ตัวอักษร
การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปรทําได้โดย เขียนข้อความสั่งขึ้นต้นด้วยชนิดข้อมูล ตามด้วยชื่อตัวแปร และจบข้อความสั่งประกาศตัวแปรด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;)
ตัวแปรชนิดอักขระ (character variable types)
ตัวแปรชนิดอักขระ (char) ถูกจัดเก็บไว้ในหน่วยความจํา ในรูปแบบจํานวนเต็ม ขนาด 1 ไบต์ ดังนั้น ตัวแปรชนิดอักขระจึงสามารถใช้งานได้ทั้งแบบอักขระ และ จํานวนเต็ม
การแสดงผลและการรับค่า
รูปแบบการแสดงผล (format specifiers)
ตามด้วยอักขระ 1 ตัว หรือหลายตัว โดยที่อักขระนั้นมีความหมายดังนี้
ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ (%)
ลําดับหลีก (escape sequence)
ในการแสดงผล บางสิ่งบางอย่างที่จะแสดง อาจไม่ใช่ตัวอักษร จึงไม่สามารถที่จะเขียนสิ่งที่จะแสดงไว้ในโปรแกรมได้
ฟังก์ชัน printf()
printf (“สายอักขระควบคุม”, ตัวแปร);
ฟังก์ชัน scanf()
scanf(“%รูปแบบ”, &ตัวแปร);
ข้อความสั่งกําหนดค่า (assignment statement)
ตัวแปร = นิพจน์;
การคํานวณทางคณิตศาสตร์
ลําดับการดําเนินการในนิพจน์ที่มีตัวดําเนินการหลายตัว
()
/ %
-
ตัวดําเนินการเอกภาค (unary operator)
ตัวดําเนินการเอกภาค คือ การใช้ตัวดําเนินการกับตัวแปรตัวเดียว ในที่นี้จะแสดงการใช้ตัวดําเนินการ
2 ตัวกับตัวแปรตัวเดียว ซึ่งมีลักษณะการใช้ 2 แบบ
ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหลัง (postfix mode) หมายถึง ตัวดําเนินกาiเอกภาคอยู่หลังตัวแปร
ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหน้า (prefix mode) หมายถึง ตัวดําเนินการเอกภาคอยู่หลังตัวแปร
ตัวดําเนินการประกอบ (compound operator)
ตัวดําเนินการประกอบ เป็นการใช้ตัวดําเนินการหนึ่งตัวร่วมกับเครื่องหมายเท่ากับ การใช้ตัว
ดําเนินการประกอบจะช่วยให้เขียนข้อความสั่งได้สั้น และเร็วขึ้น
ลําดับในการดําเนินการ
()
++ --
/ %
-
+= *= /= -= %=
การแปลงชนิดข้อมูล (type cast)
ตัวแปร = (ชนิดข้อมูล) นิพจน์;
การกําหนดค่าจากข้อมูลหลายชนิด (assignment with mixed types)
ถ้านิพจน์ในข้อความสั่งกําหนดค่าประกอบด้วย ตัวแปร หรือ ตัวคงที่ที่มีชนิดข้อมูลต่างกัน จะต้องแปลงให้เป็นชนิดเดียวกันก่อน แล้วจึงนํามาดําเนินการ โดยมีหลักดังนี้ คือ ถ้าตัวแปร หรือ ตัวคงที่ มีชนิดข้อมูลที่ต่างกัน จะต้องแปลงให้เป็นชนิดเดียวกันก่อน แล้วจึงดําเนินการ โดยในการแปลงจะต้องแปลงชนิดข้อมูลที่มีขนาดเล็กกว่าให้เป็นชนิดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่กว่าดังนั้น ถ้าตัวแปร หรือ ตัวคงที่ ตัวหนึ่งเป็นชนิดจํานวนเต็ม (int) ส่วนอีกตัวหนึ่งเป็นชนิดจํานวนจริง(float) จะต้องแปลงตัวแปรหรือตัวคงที่ที่เป็นจํานวนเต็ม (int) ให้เป็นจํานวนจริง (float) ก่อน แล้วจึงดําเนินการ