Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด ( Pulmonary embolism ),…
การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด
( Pulmonary embolism )
เป็นภาวะหนึ่งที่มีความสำคัญทางคลินิกและเป็นภาวะฉุกเฉินที่จะต้องได้รับการวินิจฉัยอย่างถูกต้องและได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน มิเช่นนั้นผู้ป่วย
อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้และเนื่องจากมีอาการแสดงที่หลากหลายและคล้ายคลึงกับอีกหลายภาวะดังนั้นจึงควรเข้าใจถึงลักษณะทางคลินิกและแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้เพื่อให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
พยาธิสรีรวิทยา
กลไกการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำตาม Virchow 's triad ต้องประกอบด้วย
1.ภาวะที่ทำให้มี
การไหลเวียนของเลือดช้าลง (venous stasis)
อันตรายต่อผนังหลอดเลือด (endothelial damage)
3.ภาวะการแข็งตัวของเลือดง่ายกว่าปกติ(hypercoagulability) เช่น โรคมะเร็งบางชนิด, กลุ่มอาการ
antiphospholipid, โรคทางพันธุกรรมบางชนิด
ส่วนใหญ่ของผู้ป่วย pulmonary embolism มักมีต้นกำเนิดของลิ่มเลือดมาจากอุ้งเชิงกรานหรือหลอดเลือดดาที่ขา ซึ่งหลุดลอยไปสู่ การไหลเวียนเลือดในปอด ทำให้มีแรงเสียดทานในหลอดเลือดปอดสูงขึ้น มีการแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่องจาก alveolar dead space ที่มากขึ้นและยังมีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด( hypoxemia) จาก right-to-left shunt ร่วมด้วยเกิดการคั่งของคาร์บอนมอนอกไซด์ร่างกายจะมีกลไกในการทำให้เกิด alveolar hyperventilation ตามมานอกจากนี้ผลจากการอุดตันของหลอดเลือดปอดยังทำให้มีการหลั่งสารเคมีที่มีฤทธิ์กระตุ้นให้หลอดเลือดเล็กๆ ในปอดตีบแคบลงส่งผลให้หัวใจห้องล่างขวา ทางานมากขึ้นจนอาจเกิด ภาวะหัวใจวายได้ทาให้การสูบฉีดเลือดเสียไปจนอาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตได้
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
ความอ้วน มีความสัมพันธ์กับค่า body mass index (BMI) เป็นหลัก
ปัจจัยทางสุขภาพในเพศหญิง ( Women' s health) ได้แก่
1.การใช้ยำคุมกำเนิดชนิดกิน
2.ภาวะตั้งครรภ์
3.การรักษาด้วยฮอร์โมนในหญิงวัยหมดประจำเดือน
4.โรคมะเร็ง ในบางครั้งสามารถพบ pulmonary embolism มาก่อนแล้วจึงวินิจฉัยมะเร็งได้ในภายหลัง และส่วนมากมักจะเป็นมะเร็งระยะที่แพร่กระจายแล้ว
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติของภาวะหลอดเลือดดำขา (DVT) อุดตัน ประกอบด้วย อาการบวม, ปวด, แดง ร้อนของขา การคลำได้หลอดเลือดดำที่อุดตันแข็ง เป็นลำ หรือการกดเจ็บตามแนวของหลอดเลือดดำที่อุดตัน
ความผิดปกติของภาวะหลอดเลือดแดงที่ปอด (PE) อุดตัน พบว่า หายใจลำบาก,pleuritis chest pain,ไอ, ฟังได้ยินเสียงหัวใจ S4,เสียงลิ้นหัวใจ P2 ดัง, ความดันตกสำหรับอาการหน้ามืดเป็นลม หรือ หมดสติมักพบในกรณีที่เป็นmassive PE เท่านั้น
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Arterial blood gas และ pulse oximetry ผู้ป่วยจะมีภาวะขาดออกซิเจน ภาวะคาร์บอนไดซ์
ออกไซด์ต่ำและ respiratory alkalosis
ภาพรังสีปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจทางรังสีโดยใช้ Ventilation-perfusion scan
Compression ultrasound ของเส้นเลือดดำที่ขา
Computerized tomography angiography
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การฉีดสีดูหลอดเลือดปอด
การรักษา
ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด
ยาละลายลิ่มเลือด (thrombolysis),
inferior vena caval filter
การพยาบาล
1.การป้องกันการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันที่ปอด
การดูแลการได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การดูแลได้รับยาตามแผนการรักษา
นางสาวภูริชญา นักสอน เลขที่47 รหัส62129301540