Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ, กลุ่ม A4 นางสาว เจนจิรา กาญจนถิ่น รหัสนักศึกษา…
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่5
ปี 2525-2529
เน้นการพัฒนาชนบทอย่างผสมผสานโดยชุมชนมีส่วนร่วมภายใต้ระบบของคณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสาธารณสุขมูลฐาน การจัดตั้งโรงพยาบาลระดับอำเภอให้ครบทุกอำเภอ รวมทั้ง ยกฐานะสำนักงาน ยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์ให้เป็นสถานีอนามัยทั้งหมดและการตั้งเป้าหมายทางสังคมระยะยาว (20 ปี) "สุขภาพดีถ้วนหน้า 2543
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่12
หลักการของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) อยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี และเป็นกลไกเชื่อมต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
เพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ด
ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ควบคู่กับกรอบเป้าหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0
ประเด็นการปฏิรูป
ประเทศด้านสาธารณสุข
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 2
กรอบแนวทางแผนระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข เพื่อวางฐานรากของระบบสุขภาพในระยะ 5 ปีให้เข้มแข็งเพื่อคนไทยมีสุขภาพแข็งแรง สามารถสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็วของประเทศไทยอันเนื่องมาจากการลดลงของภาวะเจริญพันธ์หรือการเกิดน้อยลง และภาวการณ์ตายลดลง
การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยา ท าให้รูปแบบของภาระโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ปัญหาสุขภาพจาก อุบัติเหตุ ภัยพิบัติและภัยสุขภาพ รวมทั้งโรคจากการประกอบอาชีพ
ด้านสุขภาพยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลและงานวิจัยที่มีได้อย่างเพียงพอ
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดีสร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็ง รองรับกับ บริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
เป้าประสงค์ (Goals)
เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้
อย่างสะดวก เหมาะสม
มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม
คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดีลดการตายก่อนวัยอันควร
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มี ความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การ
เจ็บปุวยและตายจากโรคที่ปูองกันได้ลดลง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2: สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3: พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1: เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564)
ผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ความสำคัญใช้เป็นกรอบแนวทางดำเนินงาน
จัดตั้งคณะกรรมการก ากับทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เพื่อกำกับการดำเนินงาน ติดตามประเมินผลแผนฯ เป็นระยะและต่อเนื่อง
สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาฯ 12 และนโยบายรัฐบาล เข้าสู่แผนการบริหารราชการแผ่นดิน และแผนระดับอื่นๆ
จัดให้มีกลไกในการพัฒนาวิธีหรือกระบวนการยกร่างแผนพัฒนาสุขภาพฯ ฉบับต่อไป
ดำเนินการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ประชาคมสาธารณสุข องค์กร ภาคี สุขภาพ ตระหนักและเข้าใจในสาระสำคัญของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และพร้อมเข้าร่วมในการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่3
เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากยิ่งขึ้น มุ่งเน้นการอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว การควบคุมโรคติดต่อ มีนโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรกพ.ศ. 2518
ปี 2515-2519
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่1
ปี 2504-2509
โดยเน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาลและสถานีอนามัย
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่2
เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท เร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ มีการบังคับนักศึกษาแพทย์ให้ทำสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนเป็นครั้งแรก ในปี 2508
ปี 2510-2514
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่6
ปี 2530-2534
ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ครบตามเป้าหมายการยึดหลักการมีส่วนร่วม / ให้ความสำคัญกับัญหาสาธารณสุขใหม่คือเอดส์ อุบัติเหตุ หัวใจ มะเร็ง สุขภาพจิต
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่4
ปี 2520-2524
มุ่งเน้นการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข เริ่มตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐานในพ.ศ. 2522 โรคติดต่อบางอย่างลดลงจนไม่เป็นปัญหาเช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ มีการอบรมผสส. / อสม. ครั้งแรกในพ.ศ. 2520
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่7
ปี 2535-2539
การพัฒนาสถานีอนามัยให้เป็นจุดเชื่อมของงานสุขภาพดีถ้วนหน้า และการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพมาตรฐาน เริ่มหันมาเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการ และการแก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากรที่ลาออกไปอยู่ภาคเอกชน สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับมีการกระจายครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่10
ปี 2550-2554
นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพและยึดหลักการสุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์: มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิต มีความสุขอย่างพอเพียง
พันธกิจ: สร้างเอกภาพทางความคิด สร้างจิตสำนึกสุขภาพใหม่ สร้างระบบจัดการที่โปร่งใส สร้างกลไกการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ยุทธศาสตร์
3) การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข
4) การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ
2) การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งสุขภาวะ
5) การสร้างทางเลือกสุขภาพที่หลากหลาย ผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากล
1) การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ
6) การสร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความร
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่9
ปี 2545-2549
เน้นสุขภาพคือสุขภาพวะ พัฒนาระบบสุขภาพทั้งระบบ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ
ยุทธศาสตร์
3) ปฏิรูประบบ โครงสร้าง และกลไกการบริหารจัดการระบบสุขภาพ
4) การสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมเพื่อสุขภาพ
2) การสร้างหลักประกันการเข้าถึง
บริการสุขภาพถ้วนหน้า
5) การบริหารจัดการความรู้และภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ
1) เร่งการสร้างสุขภาพเชิงรุก
6) การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและระบบสุขภาพใหม
เป้าหมาย
1) การสร้างเสริมสุขภาพและการปูองกันโรค
2) คนไทยทุกคนมีหลักประกันสุขภาพ
3) การสร้างความเสมอภาคทางด้านสุขภาพ
4) การปรับบทบาทภารกิจ
และโครงสร้างองค์กร/กลไกของรัฐในการพัฒนาสุขภาพ
5) การสนับสนุนการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
6) การพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพของประชาชน/ครอบครัว/ชุมชน/ประชาคม
7) การพัฒนาสถานบริการ
สาธารณสุขระดับต้นทั้งเขตเมืองและชนบท โดยเชื่อมโยงกับระบบบริการขั้นสูง
8) การพัฒนาคุณภาพสถานบริการสาธารณสุข
9) การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางปัญญาของระบบสุขภาพ โดยเน้นการแพทย์แผนไทย สมุนไพร และการแพทย์ทางเลือกทั้งจากภูมิปัญญาไทยและสากล
10) การสนับสนุนอุตสาหกรรมสุขภาพ
วิสัยทัศน์และพันธกิจหลัก
วิสัยทัศน์ว่า “คนในสังคมไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดำรงชีวิตอย่างมี สุขภาวะ และเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ อย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัว ชุมชนและสังคมที่ มีความพอเพียงทางสุขภาพ มีศักยภาพ มีการเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ โดยสามารถใช้ ประโยชน์ทั้งจากภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน”
พันธกิจหลัก: การระดมพลังทั้งสังคม เพื่อสร้างสุขภาพ (All for Health) ระดมพลังทั้งสังคมเพื่อร่วมสร้างสุขภาพโดยจะต้องทำให้เกิดสำนึกสุขภาพ ในสังคมทุกส่วนอย่างทั่วถึง และเปิดโอกาสให้ส่วนต่างๆ ในสังคมมีบทบาทและได้ใช้ศักยภาพของตนในการ พัฒนาเพื่อบรรลุสู่สังคมแห่งสุขภาวะ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่11
ปี 2555-2559
หลักการมุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์ : "ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียงเป็นธรรม นำสู่สังคมสุขภาพวะ"
พันธกิจ : พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาลสร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาไทย
ยุทธศาสตร์
3) ยุทธศาสตร์มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกัน ควบคุมโรค และคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพื่อให้คนไทยแข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา
4) ยุทธศาสตร์เสริมสร้างระบบ บริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับเพื่อตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาระบบส่ง ต่อที่ไร้รอยต่อ
2) ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย และการจัดการภัยพิบัติ อุบัติเหตุและภัยสุขภาพ
5) ยุทธศาสตร์สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ และพัฒนาระบบ บริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ
1) ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ ตลอดจนการพึ่งพาตนเองด้าน สุขภาพบนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่8
ปี 2540-2544
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย มีการปรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ด้านสาธารณสุขให้สอดคล้องกับวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ
กลุ่ม A4
นางสาว เจนจิรา กาญจนถิ่น รหัสนักศึกษา 61102301026