Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กระจาย
ทางเดินปัสสาวะ
อวัยวะสืบพันธุ์
ทางเดินอาหาร
เลือด
ทางเดินหายใจ
ผิวหนัง
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Common Vehicle transmission เป็นการแพร่กระจายเชื้อจากการที่มีจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือดอาหาร น้ำ ยา สารน้ำที่ให้แก่ผู้ป่วย
Air bone transmission เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
Vectorborne transmission เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลงหรือสัตว์นำโรค
Contact transmission
Indirect Contact เป็นการสัมผัสสิ่งของหรืออุปกรณ์การแพทย์ที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่เป็นการที่เชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยผ่านทางตัวกลาง
Droplet spread เกิดจากการสัมผัสกับฝอย ละออง น้ำมูก น้ำลาย
Direct Contact เป็นการแพร่กระจายเชื้อจากคนสู่คน
ทางเข้าของเชื้อที่ทำให้เกิดโรค
จมูก
ปาก
ดวงตา
สิ่งนำเชื้อ
สัมผัสโดยตรง
วัตถุต่างๆ
อาหารและน้ำ
อากาศ
บุคคลที่มีเชื่อโรคนั้นเอง
แมลงและสัตว์
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้อขณะผู้ป่วยได้รับการตรวจและหรือการได้รับการพยาบาลและการติดเชื้อของบุคลากรจากการปฎิบัติงานโดยประมาณมักเกิดขึ้นใหม่ใน 48 - 72 ชั่วโมงเมื่อรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
ภาวะปลอดเชื้อหรือการกีดกันเชื้อหมายถึงการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่เกิดขึ้นกับเครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งแวดล้อมเป็นการวางกลยุทธ์ในการควบคุมการติดเชื้อลดแหล่งของเชื้อโรคและการให้กระจายของเชื้อ
เทคนิคปลอดเชื้อ
การกีดกันเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด
เทคนิคการทำให้สะอาด
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ
การกีดกันเชื้อชนิดเคร่งครัด
เทคนิคการทำให้สะอาดการใส่ถุงมือเสื้อคุมที่นึ่งแล้ว
การใช้ปากคีบที่ทำให้ไร้เชื้อหยิบเครื่องมือเครื่องใช้ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
จุดประสงค์เพื่อสร้างความปลอดเชื้อของสิ่งของภายในห่อและผ้าห่อด้านใน
ความหมายของคำศัพท์
Sterile สิ่งของหรือเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อโรครวมทั้งชนิดที่มีสปอร์
Contamination การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Sterilization ขบวนการทำลายเชื้อโรคทุกชนิดรวมทั้งพวกที่มีสปอร์ให้หมดสิ้นไป
Disinfection หมายถึงขบวนการทำลายเชื้อโรคแต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ได้วิธีทำลายเชื้อโรคแบบนี้เช่นการต้มการแช่น้ำยา
Disinfectant หมายถึงสารเคมีหรือน้ำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์แต่ไม่สามารถทำรายชื่อที่มีสปอร์น้ำยานี้ทำลายเนื้อเยื่อด้วยฉะนั้นจะใช้กับผิวหนังไม่ได้
Antiseptics หมายถึงสารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
การฆ่าเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ
Semi critical or intermediate items เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสเยื่อบุก่อนใช้ต้องทำความสะอาดไม่มีเชื้อโรคยกเว้นสปอร์ของแบคทีเรีย
non critical items เครื่องมือที่สัมผัสกับผิวหนังภายนอกไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุต่างๆของร่างกายก่อนใช้ต้องล้างให้สะอาด
Critical items เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสกับเยื่อบุก่อนใช้ต้องทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การต้ม
เป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดีง่ายประหยัดและมีประสิทธิภาพดีการต้มเดือดนาน 10 เดือนที่จะสามารถทำลายเชื้อได้ยกเว้นสปอแต่สำหรับเชื้อโรคที่อันตรายเช่นไวรัสHIVองค์การอนามัยโลกแนะนำให้ต้มเดือดนาน 20 นาทีเพื่อให้มั่นใจดังนั้นการต้มที่มีประสิทธิภาพที่เชื่อถือได้ควรจะต้มให้เดือด 20 นาทีขึ้นไปแล้วน้ำต้องท่วมของที่ต้องการต้ม
การใช้สารเคมี
หมายถึงสารเคมีหรือน้ำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์แต่ไม่สามารถทำหลายชนิดที่มีสปอร์น้ำยานี้จะทำลายเนื้อเยื่อด้วยดังนั้นจะใช้กับผิวหนังไม่ได้
การล้าง
เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญที่สุดสำหรับการทำงานเชื้อในขั้นตอนต่อไปสิ่งของที่ปนเปื้อนมากๆน้ำยาไม่สามารถทำลายเชื้อได้หากไม่มีการล้างเพราะสิ่งที่ปุ่นเพื่อนนั้นจะทำปฏิกิริยากับน้ำยาหรือเป็นการเกราะป้องกันเชื้อโรคไม่ให้สัมผัสกับน้ำยาดังนั้นจึงควรเน้นการล้างให้มากที่สุด
วัตถุประสงค์ของการล้างเครื่องมือก่อนนำไปทำลายเชื้อ
เพื่อลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่องมือให้เหลือปริมาณน้อยที่สุดจะช่วยให้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพทำลายเชื้อโรคที่เหลือได้เร็วขึ้น
เพื่อเป็นการลดสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวของเครื่องมือ
ช่วยลดอันตรายในการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่ที่เป็นบวกเบื้องต้นก่อนจะนำไปทำลายเชื้อต่อไปเป็นการเพิ่มความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อ
อัลดีฮัยด์
ทำลายเชื้อไวรัส รา ในเวลา 10 นาที
แอลกอฮอล์
ทำลายเชื้อได้ดีแต่ไม่ทำลายสปออาจทำให้เครื่องมือโลหะเกิดสนิม
การติดเชื้อที่แพร่กระจายทางอากาศ
สวมถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้งทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกพิเศษและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าห้องหรือออกจากห้องของผู้ป่วย
ล้างมือแบบhygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกจากห้องแยก
ให้ผู้ป่วยใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากปิดจมูกเวลาไอจามและใส่ผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดธรรมดาตลอดเวลายกเว้นเวลารับประทานอาหารและแปรงฟัน
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปากปิดจมูกชนิด N95
ให้ผู้ป่วยใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากปิดจมูกเวลาไอจามและใส่ผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดธรรมดาตลอดเวลายกเว้นเวลารับประทานอาหารและแปรงฟัน
การล้างมือ
การล้างมือเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการลดการติดเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสโดยตรงสามารถทำได้งานแล้วสิ้นทุกข์ตอนหลังมึงควรจะทำก่อนที่จะปฏิบัติการพยาบาลและหลังการพยาบาลผู้ป่วยโดยทั่วไปแล้วจุดประสงค์ของการล้างมือเพื่อช่วยขจัดสิ่งสกปรกต่างๆขุยผิวหนังเหงื่อไขมันที่หลังออกมาตามธรรมชาติและลดจำนวนเชื้อจุลชีพที่อาศัยอยู่บริเวณผิวหนังอันเป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
การล้างมือแบบธรรมดา
เป็นการล้างมือเพื่อสุขภาพอนามัยทั่วไปเช่นเมื่อมีเพื่อนหรือก่อนสัมผัสผู้ป่วยก่อนและหลังการจ่ายยาให้ล้างมือตามขั้นตอนด้วยสบู่ก้อนหรือสบู่อยู่ใช้เวลาในการฟอกมืออย่างน้อย 15 วิแล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาดซับให้แห้งด้วยกระดาษเช็ดมือผ้าเช็ดมือที่ให้สะอาด
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล
ในกรณีนี้ไม่สะดวกในการล้างมือด้วยน้ำและหลังจากที่ปล่อยให้ทำความสะอาดมือด้วยเจลซึ่งมีน้ำยาแอลกอฮอล์ 70% แอลกอฮอล์ 70% ด้วยการล้างมือด้วยน้ำยามีประมาณ 10 มิลลิลิตรถูให้ทั่วมือทุกซอกทุกมุมจนน้ำยาแห้งใช้เวลาประมาณ 15-20 นาทีแต่หากต้องการให้เกิดประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อและต้องใช้เวลาในการฟอก30วินาที
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
เป็นการล้างมือเพื่อหัตถการการทำข้อที่ต้องป้องกันการติดเชื้อให้ล้างมือด้วยเสมอทำลายเชื้อและฟอกมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วนานอย่างน้อย 5 นาทีในการล้างมือครั้งต่อไปฟอกมือนาน3-5 นาทีล้างให้สะอาดแล้วซับด้วยผ้าให้ที่ปราศจากเชื้อโรค
การใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก
จะช่วยป้องกันการรับเชื้อโรคจากผู้ป่วยเข้าสู่ทางเดินหายใจและเป็นการป้องกันผู้ป่วยได้รับเชื้อจากผู้อื่นเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การใส่ถุงมือ(Glove)
ถุงมือจะช่วยป้องกันการติดต่อของเชื้อโรคทั้งทางตรงและทางอ้อมศูนย์ควบคุมโรคติดต่อได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการใส่ถุงมือไว้3ประการคือ
ป้องกันและควบคุมเชื้อโรคจากผู้อื่นเป็นสู่ผู้ป่วย
ป้องกันและควบคุมผู้สัมผัสเชื้อเป็นพาหะเชื้อไปสู่ผู้อื่น
ป้องกันและควบคุมเชื้อโรคจากตัวเราไปสู่ตัวผู้ป่วยจากผู้ป่วยไปสู่บุคคลอื่น
ถุงมือปลอดเชื้อ
หยิบจับของปลอดเชื้อทำหัตถกรรมต่างๆเช่นการผ่าตัดป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ถุงมือสะอาดหรือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ต้องการสิ่งสกปรกสัมผัสมือเช่นเมื่อมีโอกาสสัมผัสเลือดสารน้ำสารคัดหลังอุจจาระและปัสสาวะของผู้ป่วยเป็นต้น
เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายเครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่ผ่านการใช้งานแล้วในระหว่างการให้การพยาบาลผู้ป่วย
การใส่เสื้อกาวน์ (Gown)
การใส่เสื้อกาวจะช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ซื้อกาวทั่วไปจะเปิดด้านหน้าและเชือกสำหรับผูกคอและเอลเสื้อจะใหญ่กว่าและยาวกว่าเล็กน้อยที่จะคุมชุดเครื่องแบบได้มิดชิด
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจากการใช้ของมีคม
เข็มที่ใช้จอดเลือดผู้ป่วยให้เก็บทิ้งคนเดียว
การติดเชื้อที่แพร่กระจายทางอากาศ
ไม่ส่งของมีคมด้วยมือต่อมือ