Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหายใจล้มเหลว ( respiratory failure), นางสาวอรนัส ภู่โต๊ะยา เลขที่ 69 -…
ภาวะหายใจล้มเหลว ( respiratory failure)
พยาธิสรีรภาพ
มื่อร่างกายมีภาวะหายใจล้มเหลวจะมีความดันออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ (Hypoxemia) หรือ PaO2ต่ำ ในระยะแรก และตามมาด้วยความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงสูง (Hypercapnia) หรือ PaCO2สูง
Hypoxemia
กระตุ้นซิมพาเทติก ทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูง เหงื่อออก กระสับกระส่ายอาจมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก กล้ามเนื้อหายใจทำงานมากขึ้น ทำให้เหนื่อยง่าย
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง ทำให้ระดับความรู้สึกตัวลดลง มีอาการชัก หายใจผิดปกติและหยุดหายใจในที่สุด หัวใจบีบตัวลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือดต่ำ
Hypercapnia
กระตุ้นซิมพาเทติก ทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูง ในระยะแรก
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก
หลอดเลือดทั่วร่างกายขยายตัว ทำให้ความดันเลือดต่ำในระยะแรก ผิวหนังแดงอุ่น และมีหลอดเลือดในสมองขยายตัวทำให้มีอาการปวดศีรษะ
กดการทำงานของสมอง ทำให้มีอาการสับสน ซึม ง่วงนอน หมดสติ และกล้ามเนื้อกระตุก
กดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจบีบตัวน้อยลง และหัวใจเต้นผิดจังหวะ
สาเหตุ
หลอดลมตีบตัน
หอบหืด หลอดลมอักเสบรุนแรง
มีน้ำหรือลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
กล้ามเนื้อการหายใจเสียหน้าที่
อาการ
หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ เขียว (Cyanosis) หากมี CO2 คั่งในเลือดมากผู้ป่วยจะมีอาการซึม หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกตามตัว อาจหมดสติ
ความหมาย
เป็นภาวะที่ปอดไม่สามารถทำงานแลกเปลี่ยนออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและมีผลให้เกิดการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และเกิดภาวะออกซิเจน (O2) ในเลือด
การพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ได้รับ 02 เพียงพอและไม่มีการดั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ตรวจและบันทึกข้อมูลของการตั้งเครื่องช่วยหายใจ
Suction ใช้หลัก Aseptic Technique
ดูแล ET - Tube ให้อยู่ในตำแหน่งที่เห มาะสม
ติดตามผล Arterial Blood gas หรือ O2 Sat
6.ติดตามผล Arterial Blood gas หรือ O2 Sat อย่างน้อย วันละครั้ง เพื่อประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วย
ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเมินสภาพและป้องกันการติดเชื้อของทางเดินหายใจ (VAP)
สังเกตลักษณะสีกลิ่นของเสมหะ เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อและ ติดตามผล
ติดตามผล Chest X-ray
ความเจ็บปวดทุกข์ทรมานลดลงและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ดูแล Mouth Care อย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง
ป้องกันการเกิด Tissue Necrosis โดยใช้หลัก Minimal Leak Technique
ป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจโดยติด
ระวังไมให้สายดึงรั้ง
ป้องกันแก้ไขอาการบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ป้องกันการดึงท่อโดยการผูกมัดอย่างระมัดระวัง
สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้ในเวลาที่เหมาะสม
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ภาวะทางคลินิก ฟื้นหรือหายจากโรคที่ทำให้เกิด หายใจล้มเหลว สัญญาณชีพปกติ มีความสมดุลของอิเลคโตรไลท์ ระดับ Albumin > 3 gm%, Hct > 30%
ประสิทธิภาพการทำงานของปอด TV 5 m/ / นน.ตัว 1 Kg
ความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอด ผู้ป่วยหายใจด้วย FiO2 0.4 , ค่า 02 Sat > 90 % , ค่า Pa02 > 60 mmHg , ค่า PaCO2 35-45 mmHg
วิธีการหย่าเครื่องในปัจจุบัน weaning
2.1 IMV + CPAP
2.2 IMV + Pressure Support
2.3 CPAP with Pressure Support Ventilator
2.4 T-Piece method
นางสาวอรนัส ภู่โต๊ะยา เลขที่ 69