Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปวดศีรษะ (Headache) - Coggle Diagram
ปวดศีรษะ (Headache)
Migraine
-
-
อาการ
-
-
-
-
-
อาการอื่นที่อาจพบร่วมด้วย 12 – 24 ชั่วโมง ก่อนมีอาการ เช่น สบายมากเกินปกติ เคลิบเคลิ้ม อ่อนล้า หาว อยากกินของหวาน
-
การรักษาและการดูแล
-
-
หากไม่ได้ผล พิจารณาให้ยา Butalibital, Caffeine, Ibuprofen (600 – 800 mg), Naproxan (375 – 750 mg) Isometheptene compound 1 – 2 capsule ทางปาก
-
-
สาเหตุ
ปฐมภูมิ
เป็นกลุ่มที่พบบ่อยในกลุ่มอาการปวดศีรษะจากไมเกรน อาการปวดศีรษะแบบคลัสเตอร์ เกิดจากระบบรับความรู้สึกในประสาทและสมองเกิดการทำงานผิดปกติ โดยอาการอาจเกิดขึ้นพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน
ทุติยภูมิ
เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างบริเวณศีรษะและคอ มีสาเหตุมาจากความผิดปกติในสมอง เช่น เนื้องอกในสมอง หลอดเลือดอุดตันในสมอง และอาจเกิดจากอวัยวะบริเวณรอบ ๆ สมองได้อีกด้วย เช่น ไซนัสอักเสบ เป็นต้น
จากเส้นประสาทและอื่น ๆ
กิดจากการอักเสบของเส้นประสาท เมื่อเกิดการอักเสบจะมีผลต่อใบหน้าทำให้เกิดอาการปวดบริเวณใบหน้าอย่างรุนแรง
Sinus
อาการ
ไซนัสอักเสบคือโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ โดยผู้ป่วยจะมีอาการปวดหน่วงๆ ตามจุดต่างๆ เช่น หน้าผาก หัวตา โหนกแก้ม หรือรอบกระบอกตา ผู้ป่วยมักจะมีน้ำมูกข้นสีเหลืองหรือเขียว ในบางรายอาจมีอาการแน่นจมูกหรือมีอาการหายใจมีกลิ่นเหม็นร่วมด้วย
-
Cluster
-
การรักษาและการดูแล
ให้ยา Prednisone, Lithium methysergide, Ergotamine และ Verapamil
-
-
เครียด (Tension)
-
การรักษาและการดูแล
-
-
ออกกำลังกาย การขยับร่างกาย แม้เพียงเล็กน้อย จะช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปยังสมอง และยังทำให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนเอ็นดอร์ฟิน ที่เป็นสารบรรเทาอาการปวดตามธรรมชาติในร่างกาย
ดมกลิ่นน้ำมันหอมระเหย น้ำมันหอมระเหย หรือ นั้นมีหลากหลายกลิ่นที่เกิดจากการผสม และกลั่นจากพืชสมุนไพรชนิดต่างๆ ที่แต่ละกลิ่นก็มีคุณสมบัติช่วยให้ผ่อนคลาย
-
-
พยาธิสภาพ
เนื้อเยื่อศีรษะ ที่รับความรู้สึกเจ็บได้ ได้แก่ เยื่อหุ้มกระดูก หลอดเลือดแดงใหญ่ หลอดเลือดดำใหญ่ (Venous sinus) หลอดเลือดดำที่สมอง เยื่อดูรามาเตอร์ที่ทอดไปตามพื้นสมองด้านหน้าและด้านหลัง หลอดเลือดแดงที่อยู่บนเยื่อหุ้มสมองทั้งสาม และเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5, 9, 10 รวมทั้งเส้นประสาทสันหลังส่วนคอระดับ 2, 3 อวัยวะของหน้าและหนังศีรษะ ได้แก่ กล้ามเนื้อหน้า เยื่อบุตา ผิวหนัง หู รูจมูก โพรงอากาศ ฟัน ล้วนรับความรู้สึกเจ็บได้ เนื้อสมองไม่รับความเจ็บ การดึง ยึด การอักเสบ หรือกด ส่วนที่ไวต่อความเจ็บปวดนี้จะก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะ