Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fetal distress, นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 ชั้นปีที่ 4 - Coggle…
Fetal distress
-
การรักษา
:check: ให้มารดานอนตะแคงซ้าย
:check: ให้ ออกซิเจน 4-5 ลิตร/นาที
:check: ให้หยุดยา oxytocin และ
แก้ไขหารหดรัดตัวของมดลูก
ที่รุนแรง ให้ยา Tocolytic
:check: แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ
ในมารดา
- Intrauterine resuscitation
- ให้คลอดเร็วที่สุด
:check: extrauterine
resuscitation
รายงานกุมารแพทย์
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
- Uteroplacental insufficiency (UPI)
:no_entry: Uterine hyperactivity
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก
หรือเกิดจาก placental abruption
:no_entry: Material hypotention
จากสาเหตุต่างๆ เช่น ตกเลือด,
supine position ,Sympathetic paralysis
:no_entry: Placental dysfunction เช่น PIH, Heart,
GDM, Anemia
- Umbilical cord compression
- ในรายที่มีน้ำคร่ำน้อย
- ในรายที่สายสะดือย้อย
อาการแสดง
- Abnormal FHR pattern
- Late deceleration
- Variable deceleration
- หากพบ FHR >160 ครั้ง/นาที
หรือ < 110 ครั้ง/นาที
- Meconium stained of amniotic fluid
- Mild meconium stained
คือ น้ำคร่ำมีสีเหลือง
- Moderate meconium stained
คือ น้ำคร่ำมีสีเขียวปนเหลือง
- Thick meconium stained
คือ น้ำคร่ำมีสีเขียวเข้มมาก
- Hypoactivity
- ทารกมีการเคลื่อนไหวลดลง
- มารดาจะสังเกตได้ว่าทารกดิ้นลดลง
การวินิจฉัย
- การซักประวัติ
:check: การดิ้นของทารกในครรภ์
:check: ลักษณะและสีของน้ำคร่ำ
(กรณีถุงน้ำคร่ำแตก)
- การสังเกตและบันทึกการดิ้นของทารก
:check: หากทารกหยุดดิ้นนานกว่า 1 ชั่วโมง
:check: ถ้าทารกดิ้นมากขึ้น และแรงขึ้นทันทีทันใด
แล้วหยุดดิ้น ภาวะ acute fetal distress
ซึ่งอาจเกิดจากสายสะดือถูกกด
หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
- การตรวจระดับ estriol ในปัสสาวะ
และเลือดของผู้คลอด
:check: มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน
การทำงานของรก
:check: อายุครรภ์ > 32 wk. estriol in urine
30-40 mg
:check: ถ้าสูงกว่าปกติแสดงว่า ทารก
ในครรภ์ปลอดภัย
:check:ถ้าต่ำกว่าปกติแสดงว่า ทารกในครรภ์
อยู่ในภาวะอันตราย
- Electronic fetal heart rate
monitoring (fetal cardiotocography)
- Non-stress test (NST)
- Contraction stress test (CST)
- การมีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
- ความเป็นกรด ด่าง PH ต่ำกว่า 7.20
-
-