Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Ashma and COPD - Coggle Diagram
Ashma and COPD
COPD
(Chronic Obstructive Pulmonary Disease)
พยาธิสภาพของโรค
ร่างกายได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแปลกปลอมเป็นระยะเวลานาน
ส่งผลให้เกิดการอักเสบเรื้อรัง
ร่างกายมีการตอบสนองโดย หลั่งไซโตคายน์ (cytokines)
กระตุ้นเซลล์เม็ดเลือดขาวให้มีจำนวนมาก
เนื้อเยื่อปอดถูกทำลาย
เป็นถุงลมโป่งพอง
มีการขยายตัวโป่งพองอย่างถาวร
Chest CT : Significant bronchial wall thickening. Bronchiectasis and emphysema areas.
มีการอักเสบบริเวณหลอดลม
ร่างกายหลั่งสารเมือกออกมามากเกินไป
(mucus hypersecretion exudate)
เกิดหลอดลมอุดตัน
4 more items...
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (chronic bronchitis)
มีอาการไอเรื้อรัง
มี เสมหะ
ร่างกายยังคงมีการอักเสบมากขึ้นเรื่อย ๆ
ความยืดหยุ่นปอดลดลง
มีอากาศค้างอยู่มาก
กดหลอดลมให้แคบลงทำให้การระบายอากาศในปอดไม่ทั่วถึง
ร่างกายไม่สามารถขับของเสียคือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกได้
1 more item...
ปอดไม่สามารถนำเอาออกซิเจนจากอากาศเข้าสู่ร่างกายได้อย่างเพียงพอ
1 more item...
แรงดันภายในทรวงอกเพิ่มขึ้น
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพองขณะหายใจออกและแฟบลงขณะหายใจเข้า
อากาศคั่งในปอดมากเกินไป
ทรวงอกมีลักษณะเป็นรูปถังเบียร์
1 more item...
เช่น
สารอนุมูลอิสระ
ควันบุหรี่
ควันบุหรี่ประกอบไปด้วย สารอนุมูลอิสระมากกว่า 1,017 โมเลกุลและสารเคมีอื่นๆ
อัตราการเกิดโรคจะเป็นมากขึ้นตามปริมาณบุหรี่และระยะเวลาที่สูบ
ผู้ป่วยสูบบุหรี่ตั้งแต่อายุ20 สูบวันละ 1 ซอง
มลพิษทางอากาศ
ปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย
ลักษณะทางพันธุกรรม
ยีนที่ทำให้เกิดการขาด แอลฟาวัน-antitrypsin ซึ่งเป็นสารที่ช่วยป้องกันการย่อยโปรตีนจาก enzyme trypsin
เร่งการเกิดภาวะถุงลมโป่งพอง
การติดเชื้อเรื้อรังของทางเดินหายใจ
เกิดการทำลายเนื้อเยื่อของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ
มีการติดเชื้อซ้ำๆ
การทำลายเนื้อเยื่ออย่างถาวร
Ashma
หลอดลมมีการตอบสนองต่อสารภูมิแพ้
สิ่งระคายเคือง
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดตัว (Bronchospasm)
ความต้านทานในหลอดลมสูงขึ้น
การแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ผิดปกติ
สมรรถภาพการทำงานของปอดลดลง
Peak expiratory rate (PEFR) 43%
Spirometry : FEV1 39%
ปริมาณอากาศที่ค้างอยู่ในปอดหลังหายใจออกเต็มที่สูงขึ้น
ออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงต่ำลง
หายใจหอบเหนื่อย หายใจลำบาก
Oxygen saturation 90 %
ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ
อัตราการหายใจ 33ครั้ง/นาที
แน่นหน้าอก
ผนังหลอดลมตีบแคบลง
หายใจเสียง wheezing
Arterial blood gas
Blood pH : 7.46 (H)
PaO2 : 57 mmHg (L)
PaCO2 : 36 mmHg
HCO3 : 25.0 mEq/L
BE : 1.45 mEq
Anion gap : 5 mEq/L (L)
ผนังหลอดลมบวมและมีภาวะโลหิตคั่ง (Mucous membrane edema)
ต่อมที่ผนังหลอดลมขับมูกออกมามาก (Hypersecretion) และมีลักษณะเหนียวติดแน่นกับผนังหลอดลม
มีเสมหะ
สูดดมหรือหายใจเข้า
ฝุ่นละออง
ผู้ป่วยบอกว่าแพ้ไรฝุ่น
ผู้ป่วยทำงานที่ร้านเบเกอรี่
ขนสัตว์
ผู้ป่วยมีการสัมผัสกับนกของลูกชาย1สัปดาห์ที่ผ่านมา
ละอองดอกไม้
รับประทาน
นม
ถั่วต่างๆ
อาหารทะเล
ข้อวินิจฉัย
เซลล์ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิภาพในการทำงานของปอดลดลง
มีโอกาสกลับเป็นซ้ำเนื่องจากมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไม่เหมาะสม