Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เนื้องอกสมอง (Brain Tumors) - Coggle Diagram
เนื้องอกสมอง (Brain Tumors)
สาเหตุ
พันธุกรรม (Genetic)
สิ่งแวดล้อม (Environment) เช่น สารเคมี
บาดเจ็บที่ศีรษะ (Head trauma)
การฉายรังสี (Radiation)
เชื้อไวรัส (Virus)
. เคมีบำบัด (Immunosuppressant)
พยาธิสภาพ
1.ก้อนเนื้องอกจะมีการเจริญเติบโตและลุกลามเฉพาะที่ไปเบียดสมองที่ปกติและหลอดเลือดจะทำให้เกิดอาการที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยซึ่งจะเริ่มตั้งแต่เกิดเนื้องอกในสมองจนกระทั่งถึงระยะสุดท้ายของโรคเป็นลักษณะเด่นของเนื้องอกในสมอง
2.ลักษณะสำคัญกายภาพที่พบเนื้องอกของสมองอยู่เฉพาะในกรัชะโหลกศีรษะคือในเนื้อสมองไม่มีหลอดน้ำเหลืองจึงไม่มีการกระจายของหลอดน้ำเหลือง
3.ระบบป้องกันสมองมีระบบปิดกั้นระหว่างสมองกับเลือดจึงทำให้การกระจายของมะเร็งสมองหรือประสาทส่วนกลางไปยังอวัยวะอื่นทั่วร่างกายโดยเฉพาะกระแสเลือดมีโอกาสเกิดน้อยที่สุดหรือไม่เกิดเลย
4.การกระจายของเซลล์มะเร็งเกิดขึ้นได้วิธีเดียวคือการฝังตัวและหลุดกระจายของเซลล์มะเร็งไปตามระบบไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
5.อันตรายของเนื้องอกในสมองจะรุนแรงหรือเหมือนกับมะเร็งแม้ลักษณะทางพยาธิวิทยาจะเป็นแบบเนื้องอกธรรมดาก็ตามเพราะมีการกดเนื้อสมองส่วนดีและหลอดเลือดดำทำให้ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตได้
6.การฝังตัวของเซลล์เนื้องอกหรือเซลล์มะเร็งบริเวณแผลผ่าตัดเกือบไม่พบเลยเมื่อเปรียบเทียบกับมะเร็งของอวัยวะอื่นๆ
อาการ
อาการสูญเสียหน้าที่ของสมองบางส่วน (Focal Neurological Deficit)
อาการปวดศีรษะ
อาการแสดงของการเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
อาการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัว
อาการชัก
อาการของการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนผิดปกติ เมื่อมีเนื้องอกต่อมใต้สมอง(Pituitary)
อาการคล้ายโรคหลอดเลือดสมอง (Tumor TIA, Stroke like) เมื่อมีการอุดตันหลอดเลือด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
CT-scan
MRI
การรักษา
การผ่าตัดรักษา
การใช้รังสีรักษา
การให้เคมีบำบัด
การรักษาด้วยยา:Steroid ลดภาวะบวมของสมองได้ดี การให้ฮอร์โมนทดแทนในเนื้องอกต่อมใต้สมอง Pituitay
กายภาพบำบัด:ในผู้ป่วยมีความพิการ ต้องการกายภาพบำบัด
การป้องกันและรักษาโรคแทรก
โรคลมชัก:ให้ยากันชัก
โรคติดเชื้อ:ให้ยาปฏิชีวนะ
ภาวะเกลือแร่ผิดปกติ
เกลือโซเดียม อาจต่ำในภาวะ SIADH
Salt westing
อาจสูงในภาวะ DI เนื่องจากความผิดปกติของฮฮร์โมน ADH
ต้องรักษาให้โซเดียมอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดท่านอนศีรษะสูง พลิกตะแคงทุก 2 ชั่วโมง
Suction clear airway
กระตุ้นให้ผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
หลังผ่าตัดให้นอนศีรษะสูง 30 องศา
การมีน้ำคั่งในสมอง
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
การมีเลือดออก
ภาวะแทรกซ้อนจากรังสีรักษา
ผิวหนังบริเวณที่ได้รับรังสีอาจเกิดไหม้เกรียม ถลอกเป็นแผล มีอาการอ่อนเพลีย มีไข้ ซีด ท้องเสีย
ลดอาการปวดศีรษะ อาการอาเจียน
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยทั่วไป
คลายความวิตกกังวล