Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพชุมชน, นางสาวณิชกานต์ สารอินสี เลขที่ 27…
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพชุมชน
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Global Megatrends)
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
การใช้ปัญญาประดิษฐ์และระบบหุ่นยนต์อัตโนมัติ
ยกระดับผลิตภาพทางเศรษฐกิจในภาพรวมให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นได้ในระยะเวลาที่สั้นลง
แต่ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดังกล่าวอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อตลาดแรงงาน โดยอาจนำไปสู่การขาดแคลนแรงงานทักษะ และเกิดความไม่สอดคล้องระหว่างทักษะของแรงงานกับทักษะที่ต้องใช้ในการทำงาน
การเติบโตของเศรษฐกิจแพลตฟอร์มและเศรษฐกิจแบบแบ่งปัน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
ทำให้จำนวนวัยแรงงานลดลงหากไม่มีการปรับใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม รวมถึงจะทำให้อัตราส่วนพึ่งพิงของผู้สูงอายุต่อวัยแรงงาน และภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากผู้สูงอายุมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และมีภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้นตามวัย
การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล
พฤติกรรมในการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน
พฤติกรรมการใช้ชีวิตในสังคมเมืองสมัยใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไปสู่การบริโภคอาหารที่มีสารปรุงแต่งและมีไขมันสูง ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์การสูบบุหรี่ และขาดการออกกำลังกาย
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการรักษาพยาบาล
เทคโนโลยีดิจิทัลที่ก้าวหน้าและความต้องการในการรักษาพยาบาลที่เพิ่มสูงขึ้น ได้กระตุ้นให้เกิดการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ในการให้บริการสาธารณสุข
การตรวจวินิจฉัยและเฝ้าระวังสุขภาพผ่านโทรศัพท์มือถือ
แอปพลิเคชัน
อุปกรณ์สำหรับสวมใส่ที่มีเซ็นเซอร์หรือเทคโนโลยีตรวจวัดสุขภาพ
การวัดความดัน
วัดระดับน้ำตาลในเลือด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การขยายตัวของความเป็นเมือง
ก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม
ความสะดวกรวดเร็วด้านการคมนาคมขนส่ง
การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการ
สาธารณะ
การเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะสร้างความเสียหายต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
ทางการเกษตร
การแพร่ระบาดของโรคตามฤดูกาล
อากาศร้อนทำให้พาหะนำโรคติดต่อ
บางชนิดเพิ่มจำนวนเร็วขึ้น
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงและปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำลดลง
การสูญเสียทรัพยากรชายฝั่ง
จำนวนสัตวืทะเลลดลงจากการที่ทะเลมีความเป็นกรดสูง
ความพยายามระดับโลกในการลดปริมาณการปล)อยกàาซเรือนกระจก
พลังงานหมุนเวียนและยานยนต์ไฟฟ้า
แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทางสังคม
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสารส่งผลให้วิถีชีวิตของคน
เด็กที่ได้รับสื่อตั้งแต่ยังเล็กส่งผลทางลบต่อพฤติกรรม
และพัฒนาการทางลบ
ความก้าวร้าว
พฤติกรรมดื้อต่อต้าน
พัฒนาการด้านภาษาล่าช้า
โครงสร้างครอบครัวเปลี่ยนจากครอบครัวขยายที่มีคนหลายรุ่น
อยู่ด้วยกันเป็นครอบครัวใหญ่ เปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยว ใช้ชีวิตคนเดียวเพิ่มมากขึ้น
อนาคตของงานและพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
ผลกระทบและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ผลกระทบในระดับโลก
กระทบต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
การใช้ชีวิตของประชากรโลก
ผลกระทบทางอ้อมจากความพยายามในการป้องกันและ
ควบคุมการแพร่ระบาด
การสูญเสียของชั่วโมงการทำงาน
ผลกระทบต่อประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
การท่องเที่ยว
การส่งออกงออกสินค้าต่อ GDP
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล
การขยายตัวของความเป็นเมือง
แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
รูปแบบการทำงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและชั้นบรรยากาศโลก
สถานะของประเทศและผลจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับโลก
ความมั่นคง
การรักษาความสงบในประเทศ
ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
เสถียรภาพทางการเมืองและธรรมาภิบาล
การป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง
การป้องกันและรับมือการโจมตีทางไซเบอร์
การรับมือกับปัญหาภัยพิบัติธรรมชาติและสาธารณภัย
การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงในระดับนานาชาติ
ความสามารถของประเทศไทยในการรับมือกับความท้าทายจากภายนอก
การเสริมสร้างบทบาทของประเทศไทยในการกำหนดทิศทางและส่งเสริม
เสถียรภาพของภูมิภาค
ความสามารถในการแข่งขัน
ปัจจัยการผลิต
การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนายังต่ำกว่าประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกัน
ผลิตภาพของแรงงานไม่เพิ่มขึ้นรวดเร็วเท่าที่ควร
โครงสร้างของภาคการผลิต
กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมและบริการที่เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญของเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันยังไม่ใช้กลุ่มที่มีมูลค่าเพิ่มสูง
เสถียรภาพเศรษฐกิจ
การเติบโตของอุปสงค์ภายในประเทศ
การกระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสภาวะการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการ
ประสิทธิภาพของภาคการเงิน
ความสามารถในการแข่งขันของสาขาการผลิตและบริการเป้าหมาย
การเกษตร
เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
เกษตรปลอดภัย
เกษตรชีวภาพ
เกษตรแปรรูป
เกษตรอัจฉริยะ
การท่องเที่ยว
อุตสาหกรรมชีวภาพ
อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ
อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส
การเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ระดับภูมิภาค
การเปลี่ยนผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์ทั้งระบบไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าอัจฉริยะ
การพัฒนาอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ
อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
ทรัพยากรมนุษย์
โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ความยากจน
ความเหลื่อมล้ำ
ความคุ้มครองทางสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ป่าชายเลน
การกัดเซาะชายฝั่ง
ปัญหามลพิษ
ขยะ
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางน้ำ
ขยะในทะเลและการปนเปื้อนของไมโครพลาสติก
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การบริหารจัดการภาครัฐ
ประเด็นที่จะทวีความสำคัญต่อการปรับปรุงระบบบริหารจัดการภาครัฐ
การปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการและระบบบริหารงานภาครัฐไปสู่ดิจิทัล
ความยั่งยืนทางการคลัง
ประเด็นที่ต้องดำเนินการเพื่อแก้ไขข้อจำกัดที่มีอยู่เดิม
กฎระเบียบและกระบวนงานที่ล้าสมัยและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ
โครงสร้างการบริหารงานภาครัฐขาดความยืดหยุ่นไม่คล่องตัว
นางสาวณิชกานต์ สารอินสี
เลขที่ 27 รหัสนักศึกษา 611901028